Page 47 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 47
ยินยอมของคู่กรณี และเพื่อให้การท�าหน้าที่ในการ เครือข่ายพันธมิตรระดับโลกว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชน
ไกล่เกลี่ยเป็นไปโดยเหมาะสมและมีมาตรฐานการปฏิบัติ แห่งชาติ (Global Alliance of National Human Rights 1
ที่สอดคล้องกัน กสม. จะวางระเบียบในการปฏิบัติหน้าที่ Institutions - GANHRI) จึงได้จัดตั้งคณะอนุกรรมการ
ดังกล่าวได้ตามร่างมาตรา ๒๗ (๕) หรือร่างมาตรา ๔๙ ประเมินสถานะ (Sub-Committee on Accreditation: 2
(๙) ไว้ด้วยก็ได้” แต่การก�าหนดเป็นข้อสังเกตดังกล่าว SCA) ขึ้น เพื่อรับผิดชอบการพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ
ย่อมแสดงให้เห็นถึงความไม่สอดคล้องกับหลักการปารีส เกี่ยวกับการประเมินสถานะของสถาบันสิทธิมนุษยชน 3
ที่ก�าหนดการใช้อ�านาจในการไกล่เกลี่ยนั้นจะต้องอยู่ แห่งชาติที่เป็นสมาชิกของ GANHRI โดยพิจารณาถึง
ภายใต้ขอบเขตกฎหมาย กล่าวคือ อ�านาจของสถาบัน ความสอดคล้องตามหลักการปารีส (Paris Principles)
สิทธิมนุษยชนจะต้องบัญญัติไว้อย่างชัดแจ้งในรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ การได้สถานะ ‘A’ ซึ่งแสดงถึงความเป็นอิสระตาม 4
หรือกฎหมาย ประกอบกับในทางปฏิบัติแล้ว หาก กสม. หลักการปารีสอย่างสมบูรณ์ จะมีผลต่อความน่าเชื่อถือ
ด�าเนินการใด ๆ โดยไม่มีฐานอ�านาจตามกฎหมายรองรับไว้ และน�้าหนักในการปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ต่อหน่วยงาน 5
ประชาชนก็จะขาดความเชื่อมั่นต่อการปฏิบัติหน้าที่ และ ในประเทศและต่อประชาคมระหว่างประเทศ ตลอดจน
จะน�ามาซึ่งการโต้แย้งหรือร้องเรียนการปฏิบัติหน้าที่ ท�าให้ กสม. สามารถแสดงบทบาทและการมีส่วนร่วม
ของ กสม. ที่อาจถูกกล่าวหาได้ว่าใช้อ�านาจตามอ�าเภอใจ ในเวทีระหว่างประเทศ
อันจะส่งผลกระทบต่อการมีความอิสระในการปฏิบัติหน้าที่
ของ กสม. ซึ่งไม่สอดคล้องตรงตามเจตนารมณ์ของการ กสม. ชุดที่ ๓ ได้เข้าปฏิบัติหน้าที่ในช่วงเวลาที่ SCA
จัดตั้งองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เสนอให้ GANHRI ลดสถานะของ กสม. จาก ‘A’ เป็น ‘B’
พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๑๕ ด้วยเหตุผลที่ กสม. ยังไม่มีความสอดคล้องกับหลักการ
ปารีสอย่างสมบูรณ์ ทั้งในด้านกฎหมายและการปฏิบัติ
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น กสม. จึงมีข้อเสนอในการ หน้าที่ ด้วยสาเหตุหลัก ๓ ประการ ได้แก่ (๑) กระบวนการ
แก้ไขเพิ่มเติมร่าง พ.ร.ป. กสม. โดยเพิ่มเติมหลักการไกล่ สรรหาและการแต่งตั้ง กสม. ที่ขาดการมีส่วนร่วมของภาค
เกลี่ยในตอนท้ายของมาตรา ๓๔ วรรคหนึ่ง ดังนี้ ประชาสังคมอย่างกว้างขวาง (๒) การขาดความคุ้มกัน
ทางกฎหมายในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อประกันความเป็นอิสระ
“... ทั้งนี้ ในกรณีที่สมควร จ�าเป็น และได้รับ ของ กสม. ในบทบัญญัติของกฎหมาย และ (๓) ความล่าช้า
ความยินยอมจากคู่กรณี คณะกรรมการอาจด�าเนินการ ในการจัดท�ารายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ไกล่เกลี่ยบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้คู่กรณี โดยเฉพาะกรณีเกิดสถานการณ์ที่กระทบต่อสิทธิมนุษยชน
ท�าความตกลงเพื่อประนีประนอมและแก้ไขปัญหา อย่างรุนแรง อย่างไรก็ดี กสม. ชุดที่ ๓ ได้ด�าเนินการขอ บทนำ�
การละเมิดสิทธิมนุษยชนได้ ตามที่คณะกรรมการก�าหนด” เข้ารับการประเมินเพื่อขอเลื่อนสถานะจาก ‘B’ เป็น ‘A’
เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๑ ด้วยเห็นว่า สาเหตุของการปรับ
๑.๕.๓ การขอทบทวนสถานะของ กสม. ลดสถานะทั้ง ๓ ประการ กสม. ได้ผลักดันและด�าเนินการ
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้น ในการแก้ไขข้อห่วงกังวลตามข้อเสนอแนะดังกล่าว
โดยรัฐแต่มีความเป็นอิสระจากรัฐบาล มีอ�านาจหน้าที่ เรียบร้อยแล้ว
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตลอดจน
การเฝ้าระวังสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ รวมถึง ในการด�าเนินการดังกล่าว กสม. ได้ยื่นเอกสารขอทบทวน
การทบทวนกฎหมาย นโยบายและแนวปฏิบัติ สถาบัน การพิจารณาประเมินสถานะใหม่และ SCA บรรจุค�าขอ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติจึงเป็นกลไกส�าคัญในการ ของ กสม. เข้าสู่วาระการประชุมพิจารณาและสัมภาษณ์
เชื่อมประสานระหว่างการปฏิบัติตามพันธกรณีด้าน ผู้ท�าหน้าที่แทนประธาน กสม. แบบทางไกลเพื่อประกอบ
สิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศของรัฐกับการน�าหลักการ การพิจารณาเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๖๓ ต่อมา เลขานุการ
สิทธิมนุษยชนสากลมาปรับใช้ในการส่งเสริมและคุ้มครอง คณะอนุกรรมการ SCA ได้มีหนังสือถึงประธานกรรมการ
สิทธิมนุษยชนของประชาชนภายในประเทศ ในการที่จะ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ แจ้งมติของ SCA ให้เลื่อน
ท�าหน้าที่ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิผลและมีมาตรฐานนั้น การพิจารณาการประเมินสถานะของ กสม. ไทยออกไป
45