Page 37 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 37
๑.๑ คว�มเป็นม� ๑. นายวัส ติงสมิตร
ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 1
ในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ชุดที่ ๒ ๒. นางฉัตรสุดา จันทร์ดียิ่ง
ได้เกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง และพลเอก กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 2
ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ๓. นางประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์
(คสช.) ได้เข้าควบคุมอ�านาจในการบริหารประเทศ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 3
เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ และมีประกาศ คสช. ๔. นายสุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย
ฉบับที่ ๑๑/๒๕๕๗ ให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง ยกเว้นหมวด ๒ และ ๕. นางอังคณา นีละไพจิตร 4
ให้องค์กรอิสระและองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญแห่ง กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ยังคงปฏิบัติหน้าที่ ๖. นางเตือนใจ ดีเทศน์ 5
ต่อไป ซึ่งเป็นผลให้ กสม. ชุดที่ ๒ ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ตาม พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒ จนกว่าจะมีพระบรมราชโองการ ๗. นายชาติชาย สุทธิกลม
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง กสม. ชุดใหม่ให้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓ การแต่งตั้งผู้ท�าหน้าที่กรรมการสิทธิมนุษยชน
(ด�ารงต�าแหน่งระหว่างวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน แห่งชาติเป็นการชั่วคราว
๒๕๕๘ - ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔) ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ชุดที่ ๓ ซึ่งจะครบ
คสช. ได้มีประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ วาระการด�ารงต�าแหน่งในวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
ฉบับที่ ๔๘/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เรื่อง นายสุรเชษฐ์ สถิตนิรามัย กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
การสรรหาบุคคลเพื่อด�ารงต�าแหน่งแทนต�าแหน่งที่ว่าง ได้ขอลาออกจากต�าแหน่ง เมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๐
ก�าหนดว่าในกรณีที่จ�าเป็นต้องสรรหาผู้ด�ารงต�าแหน่งตุลาการ ต่อมาเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประกอบ
ศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการแผ่นดิน รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ (พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐) เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม
หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ แทนต�าแหน่งที่ว่าง ๒๕๖๐ โดยที่ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ บทเฉพาะกาล มาตรา ๖๐
ให้ด�าเนินการสรรหาผู้ด�ารงต�าแหน่งดังกล่าวตามหลักเกณฑ์ บัญญัติให้ประธาน กสม. และ กสม. ซึ่งด�ารงต�าแหน่ง
และวิธีการที่เคยด�าเนินการสรรหามาแล้วตามรัฐธรรมนูญ อยู่ในวันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ใช้บังคับ บทนำ�
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และหาก พ้นจากต�าแหน่งนับตั้งแต่วันที่ พ.ร.ป. กสม. ใช้บังคับ
ในการสรรหาดังกล่าวไม่มีผู้ด�ารงต�าแหน่งใด ซึ่งเป็นต�าแหน่ง แต่ให้ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าประธาน กสม. และ
ที่ต้องมีในคณะกรรมการสรรหาด้วย ให้คณะกรรมการ กสม. ที่แต่งตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ และระหว่าง
สรรหาประกอบด้วยกรรมการเท่าที่มีอยู่ โดย กสม. ชุดที่ ๓ การสรรหา กสม. ชุดที่ ๔ นายชาติชาย สุทธิกลม
ประกอบด้วยประธานกรรมการ ๑ คน และกรรมการอื่นอีก กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้ขอลาออกจากการ
๖ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามค�าแนะน�า ปฏิบัติหน้าที่ เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๒ ต่อมา เมื่อวันที่
ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ปฏิบัติหน้าที่วุฒิสภา ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ นางอังคณา นีละไพจิตร และ
ทั้งนี้ ได้มีประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง นางเตือนใจ ดีเทศน์ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้ลาออกจากการปฏิบัติหน้าที่ เป็นเหตุให้ กสม. เหลืออยู่
ชุดที่ ๓ เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โดยมีรายนาม ๓ คน คือ นายวัส ติงสมิตร นางฉัตรสุดา จันทร์ดียิ่ง และ
ดังต่อไปนี้ นางประกายรัตน์ ต้นธีรวงศ์ ซึ่ง พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๐
วรรคห้า ก�าหนดว่ากรณีกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึงสี่คน
ให้กระท�าได้แต่เฉพาะการที่จ�าเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
ดังนั้น ประธานกรรมการจึงได้มีหนังสือถึงประธาน
35