Page 38 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 38
ศาลฎีกาและประธานศาลปกครองสูงสุด เพื่อขอให้ ดังกล่าวเพื่อด�าเนินการ ในกรณีที่ปรากฏว่าไม่มี
แต่งตั้งบุคคลเพื่อท�าหน้าที่เป็น กสม. เป็นการชั่วคราว การด�าเนินการตามที่เสนอให้รายงานต่อรัฐสภา
ตาม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๖๐ วรรคสาม ประกอบ เพื่อด�าเนินการต่อไป
มาตรา ๒๒ เพื่อให้ กสม. สามารถปฏิบัติหน้าที่อย่าง ๓) เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุง
ครบถ้วนตามรัฐธรรมนูญและหลักการปารีส กฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับต่อรัฐสภา และคณะ
รัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ต่อมา ประธานศาลฎีกาและประธานศาลปกครอง ๔) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่
สูงสุด ได้มีค�าสั่งที่ ๑/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
อาศัยอ�านาจตาม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๖๐ วรรคสาม ๕) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงาน
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ประกอบมาตรา ๒๒ แต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและ ระหว่างหน่วยราชการ องค์การเอกชน และ
ไม่มีลักษณะต้องห้ามเช่นเดียวกับกรรมการสิทธิมนุษยชน องค์การอื่นในด้านสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ เพื่อท�าหน้าที่แทนผู้ปฏิบัติหน้าที่กรรมการ ๖) จัดท�ารายงานประจ�าปีเพื่อประเมินสถานการณ์
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นการชั่วคราว รวม ๔ คน คือ ด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศเสนอต่อ
๑. นายสมณ์ พรหมรส รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี และเปิดเผยต่อ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
๒. นางสาวอารีวรรณ จตุทอง สาธารณชน
๓. นางภิรมย์ ศรีประเสริฐ ๗) ประเมินผลและจัดท�ารายงานผลการปฏิบัติงาน
๔. นายสุวัฒน์ เทพอารักษ์ ประจ�าปีเสนอต่อรัฐสภา
๘) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา
โดยผู้ท�าหน้าที่เป็นกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในกรณีที่ประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญา
เป็นการชั่วคราวทั้ง ๔ คน ได้มาปฏิบัติหน้าที่เมื่อวันที่ เกี่ยวกับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ถึงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔ ๙) แต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่
คณะกรรมการมอบหมาย
๑.๒ หน้�ที่และอำ�น�จ ๑๐) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ก�าหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
หรือกฎหมายอื่นซึ่งก�าหนดให้เป็นอ�านาจหน้าที่
กสม. ชุดที่ ๓ ปฏิบัติหน้าที่ภายใต้กฎหมายหลัก ๒ ฉบับ ของคณะกรรมการ
กล่าวคือ ระหว่างปี ๒๕๕๙ ถึง ก่อน พ.ร.ป. กสม.
๒๕๖๐ ประกาศใช้ มีอ�านาจหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่ง อนึ่ง เมื่อ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ประกาศใช้เมื่อ
พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๐ โดยมาตรา ๓ ให้ยกเลิก พ.ร.บ.
พ.ศ. ๒๕๔๒ (พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒) ต่อมา เมื่อรัฐธรรมนูญ กสม. ๒๕๔๒
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีผลบังคับใช้
หน้าที่และอ�านาจของ กสม. ก็ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ หน้าที่และอ�านาจตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ฉบับดังกล่าว และ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ดังนี้ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
อ�านาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ บัญญัติให้ กสม. เป็นองค์กรอิสระ และมาตรา ๒๔๗
๑) ส่งเสริมการเคารพและการปฏิบัติตามหลัก ประกอบ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ ก�าหนดให้
สิทธิมนุษยชนทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ มีหน้าที่และอ�านาจ ดังนี้
๒) ตรวจสอบและรายงานการกระท�าหรือการละเลย
การกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน มาตรา ๒๔๗ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
หรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศ มีหน้าที่และอ�านาจ ดังต่อไปนี้
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี (๑) ตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
และเสนอมาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคล การละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกกรณีโดยไม่ล่าช้า
หรือหน่วยงานที่กระท�าหรือละเลยการกระท�า และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสม
36