Page 223 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 223
๕.๒ การใช้มาตรการด้านกฎหมาย ข้อเสนอแนะในประเด็นส�าคัญเกี่ยวกับหน้าที่และอ�านาจ
และการบริหารในการผลักดัน ของ กสม. รวมทั้งอ�านาจในการไกล่เกลี่ยเพื่อคุ้มครอง 1
ให้เกิดการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน เป็นต้น
สิทธิมนุษยชน 2
เมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
กสม. ชุดที่ ๓ ได้น�ามาตรการด้านกฎหมายและ ๒๕๖๐ และ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มีผลใช้บังคับ กสม. 3
การบริหารมาใช้ผลักดัน และเสริมสร้างความเข้มแข็ง ชุดที่ ๓ ได้พิจารณาตราระเบียบ ประกาศ แนวปฏิบัติ
ของกลไกในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และแนวทางเพื่อเป็นแนวทางการท�างานของ กสม.
ที่สอดคล้องตามหลักการปารีสหลายประการ กล่าวคือ และส�านักงาน กสม. ที่สอดคล้องตามบทบัญญัติแห่ง พ.ร.ป. 4
ในระหว่างการจัดท�าร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กสม. ๒๕๖๐ รวมทั้งหลักการสิทธิมนุษยชน อาทิ ระเบียบ
โดยคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ (นายบวรศักดิ์ กสม. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจดแจ้ง 5
อุวรรณโณ เป็นประธาน) กสม. ชุดที่ ๓ ได้จัดท�าความเห็น การรับจดแจ้ง และการเลือกกันเองขององค์กรเอกชนด้าน
และข้อเสนอแนะต่อร่างรัฐธรรมนูญไปยังคณะกรรมาธิการ สิทธิมนุษยชนและสภาวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๖๑ ระเบียบ กสม.
ยกร่างรัฐธรรมนูญ มีประเด็นส�าคัญเกี่ยวกับการยุบหรือ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งและการปฏิบัติหน้าที่
ควบรวมองค์กร กสม. กับผู้ตรวจการแผ่นดิน องค์ประกอบ ของพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศเรื่อง
ของคณะกรรมการสรรหากรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ การแบ่งส่วนราชการภายในและขอบเขตอ�านาจหน้าที่และ
เป็นต้น ต่อมาเมื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวไม่ผ่าน อ�านาจของส่วนราชการสังกัดส�านักงาน กสม. พ.ศ. ๒๕๖๑
ความเห็นชอบจากสภาปฏิรูปแห่งชาติอันมีผลให้ต้องตกไป รวมถึงได้ริเริ่มให้มีความร่วมมือกันระหว่างองค์กรอิสระ
คสช. จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ตามรัฐธรรมนูญฉบับ ๒๕๖๐ อย่างเป็นรูปธรรมขึ้น โดยเฉพาะ
(นายมีชัย ฤชุพันธ์ เป็นประธาน) กสม. ชุดที่ ๓ ก็ได้จัด การร่วมกันก�าหนดแนวปฏิบัติในการรับส่งเรื่องระหว่าง
ท�าความเห็นและข้อเสนอแนะต่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ การจัดให้มีการประชุมร่วมกัน
ในระหว่างกระบวนการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นประจ�าทุก ๓ เดือน
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไปยังคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญนี้
ต่อมาเมื่อคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญได้จัดท�า ส�าหรับมาตรการด้านบริหาร กสม. ชุดที่ ๓ ได้มี
ร่าง พ.ร.ป. กสม. เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กสม. การแบ่งขอบเขตความรับผิดชอบของกรรมการสิทธิมนุษยชน
ชุดที่ ๓ ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการพิจารณาให้ความเห็น แห่งชาติแต่ละคน ทั้งตามประเด็นสิทธิมนุษยชนและ
ต่อร่าง พ.ร.ป. กสม. ทั้งในขั้นตอนการพิจารณาของ ตามเขตพื้นที่ อันช่วยเสริมให้ กสม. โดยรวมสามารถ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ และในขั้นตอนการพิจารณา ปฏิบัติหน้าที่ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยให้ความเห็นและ ได้ครอบคลุมทุกพื้นที่มากขึ้น
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
โดยที่ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๘ ก�าหนดคุณสมบัติของกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็น ๕ ด้าน
การแบ่งขอบเขตความรับผิดชอบของกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติแต่ละคนนอกจากค�านึงถึงมิติด้านพื้นที่
ประเด็นสิทธิมนุษยชนแล้ว อาจพิจารณาให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับมิติเรื่องคุณสมบัติตามมาตรา ๘ และ
มิติด้านหน้าที่และอ�านาจตามมาตรา ๒๖ ประกอบด้วย
221