Page 222 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 222
๕.๑.๒ ข้อจ�ากัดด้านกฎหมาย ในกรณีที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ อีกทั้งไม่ได้เป็นการไกล่เกลี่ยเพื่อน�าไปสู่
กสม. เห็นสมควรด�าเนินการไกล่เกลี่ย การคุ้มครองและป้องกันการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
ประนีประนอมข้อพิพาทในด้านสิทธิมนุษยชน ของผู้เสียหายหรือได้รับผลกระทบ จึงไม่ได้น�ากฎหมาย
พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๗ วรรคแรก บัญญัติว่า การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนี้มาใช้ ปัจจุบัน เพื่อความรวดเร็ว
ในระหว่างการพิจารณาตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้ประชาชน กสม. ใช้การ
ถ้าคณะกรรมการเห็นว่าอาจด�าเนินการไกล่เกลี่ยได้ ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน หรือ
ให้ด�าเนินการไกล่เกลี่ยบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรอื่นด้านสิทธิมนุษยชน หรือการประสานกับบุคคล
เพื่อให้คู่กรณีท�าความตกลงเพื่อประนีประนอมและแก้ไข ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ผู้ร้อง ซึ่งสามารถให้การ
ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าคู่กรณียินยอมตกลง ช่วยเหลือได้บ้าง แต่ไม่มีผลบังคับเทียบเคียงได้กับการ
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ประนีประนอมและแก้ปัญหาและคณะกรรมการเห็นว่า ไกล่เกลี่ย และจากรายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการ
อยู่ในกรอบการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ให้จัดท�าข้อตกลง สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นหนังสือและให้ยุติเรื่อง และวรรคสอง บัญญัติว่า ที่ได้แจ้งปัญหาอุปสรรคในการบริหารงานด้านคุ้มครอง
หากปรากฏภายหลังว่ามีการปฏิบัติไม่เป็นไปตามข้อตกลง สิทธิมนุษยชน ในกรณีที่ กสม. เห็นสมควรด�าเนินการ
ในหนังสือ ให้คณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบตาม ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม ซึ่งเป็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
อ�านาจหน้าที่ต่อไป ต่อมา กสม. ชุดที่ ๓ ได้พิจารณาเห็นว่า แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
เรื่องการไกล่เกลี่ยนี้ได้รับการรองรับไว้ในหลักการปารีส และ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ไม่ได้บัญญัติไว้ คณะกรรมาธิการ
ที่ระบุว่าสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่มีหน้าที่ กิจการองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เสนอแนะต่อ
รับเรื่องร้องเรียนพึงแสวงหาแนวทางยุติปัญหาอย่างฉันมิตร คณะรัฐมนตรี เพื่อให้แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐
ผ่านกระบวนการไกล่เกลี่ย บนพื้นฐานของการปกปิด โดยเพิ่มเติมหน้าที่และอ�านาจให้ กสม. ด�าเนินการไกล่เกลี่ยได้
เป็นความลับ ภายในขอบเขตที่กฎหมายบัญญัติ จึงออกเป็น และมอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการองค์กรอิสระ
ระเบียบในเรื่องนี้โดยเฉพาะ จัดท�าหลักสูตรและฝึกอบรม ตามรัฐธรรมนูญ คณะที่ ๑ ศึกษา เพื่อให้ กสม. สามารถ
เจ้าหน้าที่ของส�านักงานฯ และเปิดศูนย์ไกลเกลี่ยประจ�า ด�าเนินการไกล่เกลี่ยให้สอดคล้องกับหลักการปารีส
ส�านักงานฯ ตามล�าดับ ที่ก�าหนดให้เป็นหน้าที่จ�าเป็นของสถาบันสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติซึ่งควรครอบคลุมถึงการแสวงหาข้อตกลง
เมื่อ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ประกาศใช้ ไม่ได้บัญญัติ ที่น่าเชื่อถือและปรองดอง โดยกระบวนการไกล่เกลี่ย
หน้าที่และอ�านาจประการนี้รองรับไว้ ภารกิจในการ ข้อพิพาท เพื่อยุติความขัดแย้งที่เกิดขึ้นที่ประชุมวุฒิสภา
ไกล่เกลี่ยเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนข้างต้นจึงยุติลงโดย ได้มีมติเป็นเอกฉันท์เห็นชอบในเรื่องดังกล่าว
ปริยาย แม้รัฐบาลจะตราพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ย
ข้อพิพาท พ.ศ. ๒๕๖๒ อันเป็นกฎหมายกลางออกมาใช้ เมื่อเดือนมกราคม ๒๕๖๔ กสม. ชุดที่ ๓ มอบหมาย
แต่เมื่อพิจารณาเนื้อหาแล้ว เห็นว่าไม่สามารถปรับใช้กับ ให้ส�านักงาน กสม. บรรจุเรื่องนี้เป็นเรื่องหนึ่งในการเสนอ
บริบทการท�างานของ กสม. ซึ่งพึงมีความเป็นอิสระ ทบทวน พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา ควรพิจารณาติดตามกระบวนการของคณะรัฐมนตรีที่ได้เสนอให้มีการแก้ไข
เพิ่มเติม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ โดยเพิ่มเติมบทบัญญัติให้ กสม. มีหน้าที่และอ�านาจในการไกล่เกลี่ยที่สอดคล้อง
กับหลักการปารีส หรือในแนวทางเดียวกับบทบัญญัติใน พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๗ วรรคแรก
เป็นอย่างน้อย
220