Page 221 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 221
๕.๑ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๖๓
และกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการ เพื่อประกันว่าคณะกรรมการจะสามารถปฏิบัติหน้าที่ 1
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้อย่างเป็นอิสระตามหลักการปารีส อย่างไรก็ตาม ในการ
เข้ารับการทบทวนการประเมินสถานะของ กสม. จากสถานะ 2
๕.๑.๑ หน้าที่และอ�านาจของคณะกรรมการ ของ B เป็น A เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๖๓ โดย GANHRI
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการชี้แจงและ คณะอนุกรรมการ SCA ใน GANHRI ได้ขอเลื่อน 3
รายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้า การประเมินไปอีก ๑๘ เดือน และได้มีข้อกังวลถึง
ในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับ การท�าหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้อง พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๔) นี้จะลดทอน 4
หรือไม่เป็นธรรม อันไม่สอดคล้องกับหน้าที่ ความเป็นอิสระที่แท้จริงหรือเป็นที่รับรู้ (actual
และอ�านาจของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ or perceived independence) ของ กสม. รวมทั้ง 5
ตามหลักการปารีส สนับสนุนให้ กสม. ด�าเนินการสนับสนุนให้ยกเลิก
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ บทบัญญัติดังกล่าวเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบต่อความเป็น
มาตรา ๒๔๗ (๔) และ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ (๔) อิสระของ กสม. ทั้งที่อาจเกิดขึ้นจริงหรือเป็นที่รับรู้
และมาตรา ๔๔ บัญญัติให้ กสม. มีหน้าที่และอ�านาจ ของประชาชน
ชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้า
ในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ต่อมา กสม. ชุดที่ ๓ เข้าพบและมีหนังสือถึงประธาน
ในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม เพื่อเผยแพร่ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานวุฒิสภาเพื่อยืนยันถึง
ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป ซึ่ง กสม. ได้รับการตั้ง ความจ�าเป็นในการขอให้ยกเลิกบทบัญญัติดังกล่าว
ข้อสังเกตจากเครือข่ายองค์กรทั้งในประเทศและ และขอให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
ระหว่างประเทศ ว่าหน้าที่และอ�านาจดังกล่าวไม่สอดคล้อง แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ขณะเดียวกัน
กับหน้าที่และหลักความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ ก็ได้เข้าพบนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เพื่อขอรับ
ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตามหลักการปารีส การสนับสนุนให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยยกเลิกหน้าที่
และอ�านาจของ กสม. ตามมาตรา ๒๔๗ (๔) และได้มอบหมาย
ในทางปฏิบัติ กสม. ชุดที่ ๓ ได้ออกแนวทางการจัดท�า ให้ส�านักงาน กสม. ศึกษาและจัดท�าเป็นระเบียบ กสม.
ค�าชี้แจงในเรื่องนี้ และปัจจุบันได้ออกระเบียบ กสม. ว่าด้วย ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการชี้แจงและรายงาน
หลักเกณฑ์และวิธีการในการชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริงกรณีมีรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
กรณีมีรายงานสถานการณ์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ในประเทศไทยที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
กสม. ควรด�าเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อขอให้ รัฐสภา คณะรัฐมนตรีหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องให้การ
สนับสนุนการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยให้ยกเลิกบทบัญญัติ
ในมาตรา ๒๔๗ (๔) ทั้งนี้อาจพิจารณาให้การแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการแก้ไข
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ซึ่งอยู่ระหว่างการด�าเนินการ หรือแยกพิจารณาแก้ไขเฉพาะมาตรานี้ รวมถึงการพิจารณา
แก้ไข พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ โดยยกเลิกบทบัญญัติใน มาตรา ๒๖ (๔) เพื่อให้สอดคล้องกัน
219