Page 196 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 196
(UN Working Group on Business and Human ที่ ๑๗/๔ เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๕๔ มีวัตถุประสงค์
Rights) โดยการสนับสนุนจากส�านักงานข้าหลวงใหญ่ เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและประสบการณ์
เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Office 0f High การท�างาน ตลอดจนแนวโน้มและสิ่งท้าทายที่ได้รับจาก
Commissioner for Human Rights - UNOHCHR) การอนุวัติการตามหลักการชี้แนะ UNGPs พร้อมกับ
เพื่อเป็นโอกาสในการเร่งและขยายการบังคับใช้ “หลักการ เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนตั้งแต่รัฐ กลไกของสหประชาชาติ
ชี้แนะ UNGPs” ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุม ภาคธุรกิจ สหภาพแรงงาน สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
สมัชชาสหประชาชาติเมื่อปี ๒๕๕๔ (ค.ศ. ๒๐๑๑) ภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ ตลอดจน
ให้รวดเร็วและกว้างขวางมากยิ่งขึ้นในทวีปเอเชีย ซึ่งมุ่งเน้น ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการด�าเนินธุรกิจเข้าร่วมการประชุม
ประเด็นเรื่องวิธีการที่รัฐบาลและภาคธุรกิจจะด�าเนินการ โดยการประชุมสมัยที่ ๕ อยู่ภายใต้หัวข้อหลัก คือ
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ให้สามารถปฏิบัติตามพันธกรณีในการปกป้องและเคารพ “Leadership and Leverage - Embedding Human
สิทธิมนุษยชนของตน เช่น การจัดท�าแผน NAP และ Rights in the rules and relationship that drive
การจัดการในระดับห่วงโซ่อุปทานของตนให้ดียิ่งขึ้น the global economy” เน้น ๔ ประเด็น คือ การผลักดัน
ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนหลัก ๆ ที่เกิดขึ้นในทวีปเอเชีย ให้รัฐเร่งรัดการปฏิบัติตามหลักการชี้แนะ UNGPs ทั้งใน
ซึ่งที่ประชุมให้ความส�าคัญ ได้แก่ สิทธิของแรงงานข้ามชาติ ด้านนโยบาย การออกกฎหมายและการบังคับใช้
สิทธิในการถือครองที่ดิน ห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรม การสนับสนุนให้ภาคธุรกิจใช้ความเป็นผู้น�าและผลักดัน
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
สิ่งทอ มาตรการส�าคัญในการป้องกันการใช้แรงงานบังคับ ให้เกิดการเคารพสิทธิมนุษยชนในสายงานการผลิต (value
แรงงานเด็ก และการค้ามนุษย์ การเข้าถึงกระบวนการ chain) การเคารพสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นหัวใจของ
เยียวยาทั้งในกระบวนการยุติธรรมและนอกกระบวนการ การด�าเนินธุรกิจที่มุ่งไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน และ
ยุติธรรม การส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนพยายามปรับปรุงกลไก
และช่องทางในการเยียวยาผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของ
ในส่วนของ กสม. ได้น�าเสนอบทบาทในการปฏิบัติตาม การละเมิดสิทธิมนุษยชน ส่วนสมัยที่ ๖ เน้นเรื่องการเข้าถึง
หลักการชี้แนะ UNGPs และการริเริ่มกระบวนการยกร่าง การเยียวยาและเห็นว่ารัฐมีหน้าที่ต้องจัดให้มีกลไก
แผน NAP ของประเทศไทยต่อที่ประชุมคณะท�างานว่าด้วย ที่จะช่วยให้ผู้ได้รับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนจาก
ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการประสานงาน การประกอบธุรกิจได้รับการเยียวยาที่เหมาะสมทั้งในแง่
ระหว่างประเทศว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เช่น ของกระบวนการและผลของการเยียวยา รวมทั้งต้อง
การจัดท�าการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับมาตรฐานสากลต่าง ๆ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคท�าให้ผู้ได้รับผลกระทบ
ที่มีอยู่ในการให้ภาคเอกชนเคารพสิทธิมนุษยชนและ ไม่สามารถเข้าถึงการเยียวยาได้
แนวปฏิบัติที่ดีของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ในประเทศต่าง ๆ การเผยแพร่ข้อมูลและการปฏิบัติตาม ๔.๒.๒ การจัดท�าเอกสารเผยแพร่และ
UNGPs การริเริ่มประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและ การศึกษาวิจัยเพื่อเผยแพร่และพัฒนา
ภาคเอกชนในการปฏิบัติตามหลักการชี้แนะ UNGPs ความเข้มแข็งด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
การริเริ่มจัดท�าโครงการน�าร่องในเรื่องธุรกิจและ ในปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๒ กสม. ชุดที่ ๓ ได้มีการจัดท�า
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เอกสารเผยแพร่และการศึกษาวิจัยประเด็นเกี่ยวกับ
ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมทั้งน�าข้อค้นพบที่ได้ไปใช้
๒.๒) การประชุม UN Forum on Business and ประกอบการด�าเนินการเชิงยุทธศาสตร์ โดยเฉพาะการ
Human Rights ประจ�าปี ๒๕๕๙ สมัยที่ ๕ ระหว่างวันที่ ขับเคลื่อนและเผยแพร่ภายในประเทศ และการจัดท�า
๑๔ - ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ และสมัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
๒๗ - ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ณ สมาพันธรัฐสวิส จัดขึ้น คุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยมีเอกสารเผยแพร่และ
ตามข้อมติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ การศึกษาและวิจัยที่ส�าคัญ ประกอบด้วย
๔๑
๔๑ ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, “ความรู้ด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”, ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, สืบค้นเมื่อ
๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔, http://www.nhrc.or.th/businessandhumanrights/Data.aspx.
194