Page 194 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 194
ในการสัมมนานี้ ได้มีการเผยแพร่รายงานผลการ โดยมีกลุ่มอภิปราย ๔ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสิทธิแรงงาน
ศึกษาวิจัยการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน กลุ่มสิทธิในที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
(Human Rights Due Diligence) ของส�านักงาน กสม. กลุ่มการปกป้องนักปกป้องสิทธิมนุษยชน (Human Rights
โดยชี้ให้เห็นว่าการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน นั้น Defender) และกลุ่มการลงทุนระหว่างประเทศและ
มีองค์ประกอบส�าคัญ ๕ ประการ ได้แก่ ๑) การประกาศ บรรษัทข้ามชาติ เพื่อระดมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
นโยบาย เป็นการประกาศเจตนารมณ์ของบริษัทในระดับสูง ในประเด็นดังนี้ ๑) ปัญหาที่เฉพาะเจาะจงรวมถึงอุปสรรค
๒) การประเมิน หรือความเสี่ยงว่าจะเกิดปัญหาสิทธิมนุษยชน และช่องว่างที่ยังคงมีอยู่ ๒) แนวทางการแก้ไขปัญหาและ
ที่ใดบ้าง ๓) การก�าหนดวิธีรับมือกับความเสี่ยง โดยถ้าเป็น แผนกิจกรรมที่ภาคประชาสังคมคาดหวังให้รัฐด�าเนินการ
ความเสี่ยงที่ปัญหายังไม่เกิดก็เป็นมาตรการในเชิงป้องกัน (นโยบาย/กฎหมาย/มาตรการ) ๓) หน่วยงานของรัฐ
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
แต่ถ้าเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นแล้วก็จะเป็นมาตรการในการ ที่เกี่ยวข้อง ๔) ระยะเวลาที่คาดหวังให้รัฐด�าเนินการ และ
แก้ไขและเยียวยา ๔) การติดตามผลว่าสิ่งที่ได้ท�าสามารถ ๕) ตัวชี้วัดผลการด�าเนินการ ผลการประชุมดังกล่าว
แก้ไขปัญหาหรือสามารถป้องกันความเสี่ยงได้จริงหรือไม่ จะน�าไปใช้ประกอบการพัฒนาร่างแผน NAP ต่อไป
และ ๕) การเยียวยา แม้ว่าจะได้มีความพยายามป้องกัน
ทั้งหมดแล้ว แต่ก็อาจจะสามารถเกิดปัญหาได้จึงต้อง ๑.๘) การสัมมนาวิชาการระดับชาติ เรื่อง “การเข้าถึง
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
พิจารณาว่าจะเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบอย่างไร กระบวนการเยียวยาที่มีประสิทธิภาพตามหลักการ
ชี้แนะของสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
๑.๖) การสัมมนาวิชาการระดับชาติเรื่อง “การขับเคลื่อน เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ กรุงเทพมหานคร
หลักการชี้แนะของสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับ เป็นการเผยแพร่หลักการชี้แนะ UNGPs ให้กับหน่วยงาน
สิทธิมนุษยชนสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” (Doing Business ต่าง ๆ ที่ท�าหน้าที่เป็นกลไกทางการยุติธรรมของรัฐ
for Sustainable Growth : a Forum to follow – up (State - based Judicial Mechanisms) กลไกการร้องทุกข์
on Implementation of UNGPs in Thailand) ที่ไม่ใช่กระบวนการยุติธรรมโดยรัฐ (State - based non -
เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๑ ณ กรุงเทพมหานคร เพื่อ judicial Mechanisms) และกลไกการร้องทุกข์ในระดับ
เผยแพร่แนวทางการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจที่เคารพ ปฏิบัติการโดยภาคธุรกิจรวมถึงสมาคมอุตสาหกรรม ให้มี
สิทธิมนุษยชนให้กับผู้ประกอบการธุรกิจต่าง ๆ ของไทย ความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงการน�าหลักการชี้แนะ
ในวงกว้างโดยให้สามารถน�าแนวทางตามหลักการชี้แนะ UNGPs ไปด�าเนินการให้เกิดผลในทางปฏิบัติ โดยมีผู้เข้าร่วม
UNGPs ไปปรับใช้กับธุรกิจของตนได้ และเป็นการติดตามผล สัมมนา ๓๐๐ คน ประกอบด้วย บุคลากรในกระบวนการ
ความคืบหน้าในการด�าเนินการตามปฏิญญาความร่วมมือ ยุติธรรม ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและสมาคมผู้ประกอบการ
เพื่อขับเคลื่อนหลักการชี้แนะ UNGPs ที่ได้ลงนามเมื่อวัน ภาคเอกชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการเยียวยา
ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ การสัมมนาดังกล่าวยังได้มีการ จากกรณีที่เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกิจกรรมทาง
เผยแพร่วิธีการใช้คู่มือการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่าง ธุรกิจ และผู้แทนคณะทูตและองค์การระหว่างประเทศ
รอบด้านให้กับผู้ประกอบธุรกิจต่าง ๆ ของไทยไปปรับใช้ ในประเทศไทย นอกจากนี้ ในการสัมมนาดังกล่าว
เพื่อประเมินความเสี่ยงและการลดความเสี่ยงของผลกระทบ Professor Surya Deva รองประธานคณะท�างานด้าน
ด้านสิทธิมนุษยชนจากการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ สิทธิมนุษยชนกับบรรษัทข้ามชาติและองค์กรธุรกิจอื่น ๆ
ของสหประชาชาติ ได้บรรยายพิเศษเรื่อง “Access to
๑.๗) การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “บทบาทของ Effective Remedies under the Guiding Principles on
ภาคประชาสังคมต่อการจัดท�าแผนปฏิบัติการระดับชาติ Business and Human Rights: Implementing the UN
ว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม Protect, Respect and Remedy Framework” อันช่วยให้
๒๕๖๑ ณ กรุงเทพมหานคร เพื่อระดมความคิดเห็นและ หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจได้เข้าใจและ
ข้อเสนอแนะของภาคประชาสังคมต่อร่างแผน NAP จัดท�า ตระหนักถึงความส�าคัญของความจ�าเป็นที่ต้องมีกลไก
โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม การเยียวยาภายใต้หลักการชี้แนะ UNGPs นี้
192