Page 117 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 117
หรือการกระท�าของจ�าเลยไม่เป็นความผิดเท่านั้น ดังนั้น จะเห็นได้ว่าหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในกฎหมายว่าด้วย
การที่จ�าเลยถูกคุมขังเกินกว่าโทษตามค�าพิพากษาจึงไม่ กองทุนยุติธรรมยังก�าหนดให้น�าฐานะของบุคคลมาประกอบ 1
สามารถที่จะได้รับการเยียวยาตามกฎหมายฉบับดังกล่าวได้ การพิจารณาให้ความช่วยเหลือ อันถือได้ว่าเป็นการเลือก
ปฏิบัติโดยอาศัยเหตุแห่งความแตกต่างทางฐานะของบุคคล 2
ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม โดยไม่มีเหตุผลที่เป็นสาระส�าคัญที่จะยอมรับได้ เนื่องจาก
พ.ศ. ๒๕๕๘ ก�าหนดให้ผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือ ผู้ได้รับผลกระทบจากกระบวนการยุติธรรมนั้นไม่อาจ 3
ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนสามารถ แบ่งแยกผู้เสียหายจากฐานะทางเศรษฐกิจ หากแต่จะต้อง
ขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนได้ แต่อย่างไรก็ตาม ถือว่าได้รับผลร้ายจากกระบวนการของรัฐเช่นเดียวกัน
การขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนดังกล่าวยังต้องพิจารณา ทั้งยังปรากฏว่ามิได้มีการก�าหนดค่าเยียวยาทางจิตใจ 4
จากหลักเกณฑ์และเงื่อนไขต่าง ๆ คือ (๑) พฤติกรรมและ ซึ่งต้องถือว่าเป็นคนละส่วนจากการฟื้นฟูด้านจิตใจ เนื่องจาก
ข้อเท็จจริงของผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน การให้ค่าเยียวยาด้านจิตใจนั้นเป็นเสมือนค่าชดเชย 5
(๒) ฐานะของผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน ช่วงเวลาที่ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยจะต้องสูญเสียผลประโยชน์
และ (๓) โอกาสที่ผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน อันพึงจะได้รับจากช่วงเวลาดังกล่าวไปจากความบกพร่อง
จะได้รับการช่วยเหลือหรือบรรเทาความเสียหายตาม ในการด�าเนินกระบวนการยุติธรรมของรัฐ ดังนั้น ในกรณี
๒๙
กฎหมายอื่น กล่าวคือ ผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่มีการคุมขังเกินกว่าโทษตามค�าพิพากษาควรบัญญัติ
อาจไม่ได้รับความช่วยเหลือทั้งหมดทุกคน แม้ต่อมาจะได้มี หลักเกณฑ์การเยียวยาผู้ถูกคุมขังเกินกว่าโทษตาม
การประกาศใช้ระเบียบคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม ค�าพิพากษาในพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรมให้รัฐ
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการช่วยเหลือ จ่ายเงินเยียวยาตามจ�านวนวันที่ถูกขังเกินค�าพิพากษา
ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ได้รับผลกระทบจาก ตลอดจนค่าเยียวยาทางด้านจิตใจ ทั้งนี้ จะต้องไม่ค�านึงถึง
การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งก�าหนดให้ ฐานะทางเศรษฐกิจของผู้มีสิทธิขอรับความช่วยเหลือด้วย
ผู้มีสิทธิขอรับความช่วยเหลือกรณีเป็นจ�าเลยที่ถูกคุมขัง โดยอาจบัญญัติในพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘
ตามค�าพิพากษาเกินก�าหนด แล้วก็ตาม แต่ในการพิจารณา ให้มีลักษณะเช่นเดียวกับมติของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่
๓๐
ให้ความช่วยเหลือบุคคลผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ได้รับ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เรื่อง ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักเกณฑ์
ความเสียหาย จะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ว่าต้องมีการ และวิธีการให้ความช่วยเหลือเยียวยาด้านการเงินตาม
๓๑
ค�านึงถึงฐานะของบุคคลผู้ขอรับความช่วยเหลือนั้นด้วย หลักมนุษยธรรมส�าหรับผู้ที่ถูกด�าเนินคดีจากเหตุการณ์
การชุมนุมทางการเมือง (พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๓) ที่ก�าหนดให้
อีกทั้ง ได้มีการก�าหนดประเภทของเงินช่วยเหลือเพื่อ ผู้ที่ถูกด�าเนินคดีและถูกจ�ากัดเสรีภาพ ตามที่ศาลได้มีหมาย ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ความเสียหายที่ได้รับไว้ในกฎหมายว่าด้วยกองทุนยุติธรรม ควบคุมหรือหมายขังหรือตามที่กฎหมายก�าหนด แล้วศาล
ว่ามีเพียง (๑) ค่าใช้จ่ายที่จ�าเป็นในการรักษาพยาบาลรวมทั้ง มีค�าพิพากษาหรือค�าสั่งอันถึงที่สุดให้จ�าคุก แต่ถูกควบคุม
ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ (๒) เงินช่วยเหลือ หรือคุมขังเกินกว่าระยะเวลาให้จ�าคุก ให้ได้รับเงินเยียวยา
ผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ในกรณี เท่ากับจ�านวนระยะเวลาที่ถูกควบคุมตัวเกินกว่าระยะเวลา
ที่ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนถึงแก่ความตาย (๓) ค่าขาด ให้จ�าคุกอัตราวันละ ๔๑๑ บาท และเงินเยียวยาความสูญเสีย
ประโยชน์ท�ามาหาได้ในระหว่างที่ไม่สามารถประกอบ ทางด้านจิตใจหากศาลมีค�าพิพากษาหรือค�าสั่งอันถึงที่สุด
การงานได้ตามปกติ และ (๔) เงินช่วยเหลือเยียวยา ให้จ�าคุกแต่ถูกควบคุมหรือคุมขังเกินกว่าระยะเวลาให้จ�าคุก
ความเสียหายอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร เป็นระยะเวลาเกินกว่า ๙๐ วัน แต่ไม่เกิน ๑๘๐ วัน ในอัตรา
๕๐๐,๐๐๐ บาทต่อราย และระยะเวลาเกินกว่า ๑๘๐ วัน
ในอัตรา ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาทต่อราย
๒๙ พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๘, ๒๗ ตุลาคม), ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ ๑๓๒ ตอนที่ ๑๐๒, หน้าที่ ๗. มาตรา ๒๘
๓๐ ข้อ ๙ ก�าหนดว่า “ผู้ขอรับความช่วยเหลือจากการกระท�าในกรณีดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิขอรับความช่วยเหลือ
(๒) เป็นจ�าเลยที่ถูกคุมขังตามค�าพิพากษาเกินก�าหนด
๓๑ ข้อ ๑๑ ก�าหนดว่า “การพิจารณาให้ความช่วยเหลือ คณะอนุกรรมการต้องค�านึงถึงหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
(๒) ฐานะของผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน
115