Page 116 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 116

ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของประเทศไทย  โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีที่ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยถูกคุมขัง
            ในชั้นของพนักงานสอบสวนได้มีค�าสั่งส�านักงานต�ารวจ ระหว่างพิจารณา ได้มีการออกระเบียบภายในหน่วยงาน
            แห่งชาติ ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖  มาควบคุมการด�าเนินการของเจ้าหน้าที่ แต่การด�าเนินคดี
            เรื่อง การอ�านวยความยุติธรรมในคดีอาญา การท�าส�านวน  ไม่อาจที่จะก�าหนดระยะเวลาที่แน่นอนตายตัวได้เหมือนกัน
            การสอบสวนและมาตรการควบคุม ตรวจสอบ เร่งรัดการ ในทุกคดี เนื่องจากข้อเท็จจริงและความยุ่งยากในแต่ละคดี
            สอบสวนคดีอาญา ก�าหนดระยะเวลาการสอบสวนในกรณี  มีความแตกต่างกัน ดังนั้น ปัจจัยส�าคัญที่จะท�าให้ผู้ต้องหา
            ที่ผู้ต้องหาถูกควบคุมตัว หรือถูกผัดฟ้อง หรือถูกผัดฟ้อง  หรือจ�าเลยไม่ถูกคุมขังเกินกว่าโทษตามค�าพิพากษา คือ

            ฝากขัง หรือฝากขังในระหว่างการสอบสวน โดยให้พนักงาน  การได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว ซึ่งสอดคล้องกับหลักการ
            สอบสวนผู้รับผิดชอบและผู้บังคับบัญชาเร่งรัดพนักงาน สันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ โดยผู้ต้องหาหรือจ�าเลยยังคง
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            สอบสวนเพื่อให้การสอบสวนเสร็จสิ้นไปก่อนที่จะครบ มีอิสรภาพอยู่ตราบเท่าที่ศาลยังไม่มีค�าพิพากษาถึงที่สุด
            อ�านาจผัดฟ้อง หรือฝากขัง ตามที่กฎหมายได้ให้อ�านาจไว้ ว่ากระท�าความผิดจริง


                ส่วนในชั้นการพิจารณาของศาลมีการก�าหนดแนว        ๔.  ประเด็นการเยียวยาการคุมขังเกินกว่าโทษตาม
            ปฏิบัติเพื่อให้มีการพิจารณาคดีที่รวดเร็ว  โดยใช้ระบบ ค�าพิพากษา
                                             ๒๗
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            การพิจารณาครบองค์คณะและต่อเนื่อง และมีการก�าหนด     หลักการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ท�าให้ผู้ต้องหา
            ระยะเวลาในการพิจารณาพิพากษา เช่น คดีจัดการพิเศษ  หรือจ�าเลยมีสิทธิที่จะได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว และหาก

            คือ คดีที่ไม่ยุ่งยาก สามารถจัดการได้เสร็จภายในนัดเดียว   ไม่ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวก็ต้องได้รับการพิจารณาคดี
            ต้องแล้วเสร็จภายใน ๖ เดือนนับแต่วันฟ้อง เป็นต้น  โดยไม่ชักช้า แต่หากเป็นการด�าเนินกระบวนการพิจารณา
            อย่างไรก็ตาม อาจเกิดกรณีที่กระบวนการล่าช้าออกไป ของรัฐจนเกิดกรณีคุมขังเกินกว่าโทษตามค�าพิพากษา
            หากเมื่อถึงวันนัดสืบพยานมีการเลื่อนคดีโดยตัวจ�าเลย  ถือเป็นการด�าเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่มีผล
            พยานโจทก์ พยานจ�าเลย อัยการ เป็นต้น ท�าให้ศาล  เป็นการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่ถูกควบคุม
            ต้องก�าหนดวันนัดสืบพยานเพิ่มเติมโดยเรียงล�าดับวัน  ตัวในเรือนจ�า สูญเสียอิสรภาพเกินกว่าโทษที่ตนได้รับ
            นัดสืบพยานต่อจากคดีอื่น ๆ                        ตามกฎหมาย ถือได้ว่าเป็นการละเมิดสิทธิในกระบวนการ
                                                             ยุติธรรม รัฐจึงสมควรที่จะมีการเยียวยาความเสียหาย

                เมื่อพิจารณาสถิติคดีอาญา (ประเภทคดีอาญา) ในปี  ที่เกิดจากการถูกคุมขังเกินกว่าโทษตามค�าพิพากษา
            ๒๕๕๕ ถึง ๒๕๕๘ ปรากฏว่า ระยะเวลาในการพิจารณา โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนี้ คือ
            ส่วนใหญ่จะใช้ระยะเวลาไม่เกิน ๑ เดือน มีปริมาณคดี พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและ
            ประมาณ ๔๕๐,๐๐๐ ถึง ๕๐๐,๐๐๐ คดี และคดีที่ใช้ระยะ ค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งบัญญัติ
            เวลาเกิน ๖ เดือนแต่ไม่เกิน ๑ ปี ประมาณ ๒๓,๓๐๐ คดี   ขึ้นมารองรับสิทธิของจ�าเลยให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ
            และคดีที่ใช้ระยะเวลาในการพิจารณาเกิน ๑ ปี ประมาณ  แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๒๔๕
            ๑๐,๐๐๐ คดี จะเห็นได้ว่าคดีที่ใช้ระยะเวลาในการ และมาตรา ๒๔๖ ในการได้รับค่าทดแทนในกรณีของ
            พิจารณาเกิน ๑ ปี มีจ�านวนที่ไม่มากนักเมื่อเทียบกับ บุคคลซึ่งตกเป็นจ�าเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังใน
            ปริมาณคดีทั้งหมด ซึ่งการที่พิจารณาว่าเป็นกรณีที่มี  ระหว่างพิจารณา หากปรากฏตามค�าพิพากษาอันถึงที่สุด

            การพิจารณาที่ล่าช้าเกินความจ�าเป็นหรือไม่ จะต้อง ในคดีนั้นว่าข้อเท็จจริงรับฟังเป็นยุติว่าจ�าเลยมิได้เป็น
            พิจารณารายละเอียดข้อเท็จจริงเป็นรายกรณี          ผู้กระท�าความผิดหรือการกระท�าของจ�าเลยไม่เป็น
                                                                     ๒๘
                                                             ความผิด  ด้วยเหตุนี้ พระราชบัญญัติค่าตอบแทน
                จะเห็นได้ว่าในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได้มี ผู้เสียหาย  และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลย
            ความพยายามที่จะก�าหนดระยะเวลาในการสอบสวนหรือ ในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ จึงมีข้อจ�ากัดอยู่ที่การเยียวยา
            ในการพิจารณาให้มีความรวดเร็ว ไม่ล่าช้าเกินความจ�าเป็น   เฉพาะกรณีที่ศาลตัดสินว่าจ�าเลยมิได้เป็นผู้กระท�าความผิด


            ๒๗  ข้อมูลจากหนังสือส�านักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย ๐๑๕/๒๓๒๒๕ ลงวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙.
            ๒๘  หมายเหตุท้ายพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔



       114
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121