Page 114 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 114

ข้อเท็จจริงฟังเป็นอันยุติว่าจ�าเลยมิได้เป็นผู้กระท�าผิด    ๒.  ประเด็นการปล่อยตัวชั่วคราว
            บุคคลนั้นย่อมมีสิทธิได้รับค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย     เมื่อบุคคลใดกระท�าความผิดอาญา ในการด�าเนินคดี
            ตามสมควรจากรัฐ แต่ในกรณีของนาย ย. ไม่เข้าหลักเกณฑ์ กับบุคคลนั้นต้องได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่า
            ตามกฎหมายดังกล่าว ส�าหรับกรณีการถูกคุมขังเกินกว่า ศาลจะมีค�าพิพากษาถึงที่สุดว่าได้กระท�าความผิดจริง
            โทษตามค�าพิพากษายังไม่มีกฎหมายใดก�าหนดให้ได้รับ และจะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนผู้กระท�าความผิดมิได้
            การเยียวยา                                       ซึ่งเป็นไปตามหลักการในกติกา ICCPR ข้อ ๑๔ และ
                                                             รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

                การด�าเนินการ                                มาตรา ๓๙ การที่รัฐควบคุมตัวบุคคลไว้ในอ�านาจรัฐ
                กสม. ได้พิจารณาเอกสารที่เกี่ยวข้อง รับฟังความเห็น  ในระหว่างด�าเนินคดีเป็นไปเพื่อให้การสอบสวนด�าเนินไป
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            จากหน่วยงานภาครัฐ นักวิชาการ และความเห็นของ โดยเรียบร้อย เพื่อประกันการมีตัวของผู้ต้องหาหรือจ�าเลย
            คณะอนุกรรมการด้านเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอ  และเพื่อประกันการบังคับโทษ  แต่การควบคุมตัวบุคคล
                                                                                      ๒๓
            ในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ เพื่อส่งเสริมและคุ้มครอง  ไว้ในอ�านาจของรัฐ โดยไม่ให้มีการปล่อยตัวชั่วคราว
            สิทธิมนุษยชนแล้ว มีความเห็นในประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ส่งผลให้บุคคลดังกล่าวได้รับการปฏิบัติที่ไม่แตกต่างจาก
                                                             ผู้กระท�าความผิด และมีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
                ๑.  สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์  ของผู้ต้องหาหรือจ�าเลย  การปฏิบัติตามหลักการ
                กติกา ICCPR ข้อ ๑๔ ข้อย่อย ๒ รับรองว่าบุคคล  สันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ควรที่จะปล่อยตัวระหว่าง

            ซึ่งต้องหาว่ากระท�าผิดอาญา  ต้องมีสิทธิได้รับการ พิจารณาเป็นหลัก เพื่อที่จะให้ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยมีโอกาส
            สันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ตามกฎหมาย ในการแสวงหาพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์
            ได้ว่ามีความผิด โดยคณะกรรมการประจ�ากติกา ICCPR  ของตน และไม่ต้องถูกควบคุมตัวเป็นระยะเวลานานเกิน
            ได้ให้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมว่า ข้อสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์  สมควร และการควบคุมตัวไว้ในอ�านาจรัฐควรเป็นข้อยกเว้น
            เป็นพื้นฐานของการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และรัฐมีหน้าที่  เฉพาะในบางกรณีที่จะมีผลต่อการด�าเนินคดีเท่านั้น
            ในการพิสูจน์ความผิดของจ�าเลยจนปราศจากเหตุอันควร
            สงสัย ดังนั้น ก่อนที่รัฐจะพิสูจน์จนปราศจากข้อสงสัย  กติกา ICCPR เป็นพันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนที่

            ว่าบุคคลดังกล่าวได้กระท�าความผิดจริง รัฐจะปฏิบัติ  ประเทศไทยเป็นภาคีได้รับรองสิทธิของผู้ต้องหา
            ต่อบุคคลดังกล่าวเสมือนเป็นผู้กระท�าความผิดไม่ได้    และจ�าเลยในการได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวไว้ในข้อ ๙
                                                         ๒๒
            จึงถือได้ว่าเป็นหลักส�าคัญในการประกันสิทธิและเสรีภาพ ข้อย่อย ๓ โดยก�าหนดให้บุคคลใดที่ถูกจับกุมหรือควบคุม
            ของผู้ต้องหาหรือจ�าเลยในคดีอาญา โดยรัฐธรรมนูญ  ตัวในข้อหาทางอาญาจะต้องมีสิทธิได้รับการพิจารณาคดี
            แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้บัญญัติ ภายในเวลาอันสมควรหรือได้รับการปล่อยตัว มิให้ถือเป็น
            รับรองสิทธิที่จะได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ไว้ใน  หลักทั่วไปว่าจะต้องควบคุมบุคคลที่รอการพิจารณาคดี
            มาตรา ๓๙ ว่า “ในคดีอาญา ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่า  แต่ในการปล่อยตัวอาจก�าหนดให้มีการประกันว่าจะมา
            ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยไม่มีความผิด ก่อนมีค�าพิพากษาอันถึงที่สุด  ปรากฏตัวในการพิจารณาคดี ในขั้นตอนอื่นของกระบวนการ
            แสดงว่าบุคคลใดได้กระท�าความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้น  พิจารณา และจะมาปรากฏตัวเพื่อการบังคับตามค�าพิพากษา

            เสมือนเป็นผู้กระท�าความผิดมิได้” ซึ่งสิทธิดังกล่าวยังคง เมื่อถึงวาระนั้น โดยคณะกรรมการประจ�ากติกา ICCPR
            ได้รับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  ได้ให้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมว่า การคุมขังระหว่างการพิจารณา
            (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔           จะต้องเป็นข้อยกเว้นมากกว่าที่จะเป็นหลักทั่วไป และ
                                                             การปล่อยตัวชั่วคราวอาจจะก�าหนดให้มีการประกันว่า
                                                             จะมาปรากฏตัวในการพิจารณา  หรือในขั้นตอนอื่น



            ๒๒  UN. Human Rights Committee (90  sess. : 2007 : Geneva), General comment no. 32, Article 14, “Right to equality before courts and
                                      th
            tribunals and to fair trial”, (23 Aug 2007).
            ๒๓  คณิต ณ นคร , นิติธรรมอ�าพรางในนิติศาสตร์ไทย, (กรุงเทพมหานคร : ส�านักพิมพ์วิญญูชน, ๒๕๔๘), หน้า ๘๔ - ๘๖. อ้างถึงใน สุรินทร์ มากชูชิต, “ระบบปล่อยชั่วคราว
            ผู้ถูกกล่าวหา : ศึกษาการใช้หลักประกันในคดีอาญา,” (วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต สาขากฎหมายอาญา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๕), หน้า ๑๙ - ๒๒.



       112
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119