Page 52 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 52

๕๐



              การตรวจสอบดานสิทธิมนุษยชนอยางรอบดาน (Human Rights Due Diligence: HRDD) เปนเครื่องมือที่ใช
           สนับสนุนใหผูประการธุรกิจ หวงโซอุปทาน ตลอดจนหนวยงานภาครัฐ หรือเอกชนที่เกี่ยวของ ปฏิบัติตามมาตรฐานตาง ๆ
           ที่ดําเนินการไดจริงและสามารถวัดผลได โดยเปนแนวทางหนึ่งที่หลักการ UNGP แนะนําใหดําเนินการในหลักการ
           ขอที่ ๑๗ – ๒๒ กําหนดกรอบเพื่อใหผูประกอบการธุรกิจ หวงโซอุปทาน และหนวยงานรัฐ หรือเอกชนที่เกี่ยวของ ไดติดตาม
           ประเด็นสิทธิมนุษยชนอยางจริงจัง แสดงความรับผิดชอบ โดยยึดหลักการปองกัน การลดความสูญเสีย และมีการประเมิน
           ผลกะทบตอการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นอยางจริง และอาจเกิดขึ้นได พรอมการติดตามผลกระทบอยางใกลชิด
           รวมถึงการสื่อสารตอสาธารณะ เพื่อใหแนใจวา ผูไดรับผลกระทบจะไดรับการดูแลและเยียวยาอยางใสใจ

              กระบวนการ HRDD กําหนดใหการเคารพสิทธิมนุษยชนเปนความรับผิดชอบของผูประกอบการธุรกิจ หวงโซอุปทาน
           และหนวยงานรัฐ หรือเอกชนที่เกี่ยวของ โดยตอง “รูและแสดง (know and show)” และเปนกระบวนการตอเนื่อง
           ในการสรางความรับผิดชอบและการมีสวนรวมจากทุกฝายที่เกี่ยวของ โดยมี ๕ องคประกอบหลัก คือ

             ๑    การประกาศนโยบายและหลักการที่เคารพตอการเคารพสิทธิมนุษยชน โดยอธิบายตอสาธารณะวา
                  จะดําเนินการอยางไรในการคุมครองสิทธิมนุษยชนตอผูมีสวนไดสวนเสียภายในและภายนอก รวมถึง
                  การระบุความรับผิดชอบของผูที่เกี่ยวของในโครงสรางการทํางานของธุรกิจ
             ๒    การประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นจริง หรือมีแนวโนมอาจจะเกิดขึ้นจากกิจกรรม โดยพิจารณาวา
                  ใครที่ไดรับ/มีแนวโนมไดรับผลกระทบดานสิทธิมนุษยชนจากการดําเนินงาน ซึ่งธุรกิจจะตองทํางานรวมกัน
                  โดยตรงกับผูที่ไดรับหรืออาจจะไดรับผลกระทบ เชน พนักงาน/แรงงาน ผูจัดหาวัตถุดิบ นักลงทุน
                  ชุมชน ทองถิ่น เปนตน

             ๓    การบูรณาการนโยบายเขากับการประเมิน รวมถึงกลไกควบคุมภายในและภายนอก เมื่อมีการระบุปญหา
                  และจัดลําดับความสําคัญแลว ตองหาทางบรรเทาปญหาผานการบูรณาการ การเขาถึงการดําเนินงานตาง ๆ
                  โดยวิธีการขึ้นอยูกับประเด็น แตสวนใหญมักดําเนินการผานการใหความรูและฝกอบรมดวยเครื่องมือ
                  และกระบวนการตาง ๆ โดยประเด็นคาบเกี่ยวตั้งแตแรงงานไปจนถึงธรรมาภิบาลของสถานประกอบการธุรกิจ
                  หวงโซอุปทาน และหนวยงานรัฐ หรือเอกชนที่เกี่ยวของ หากมีการทํางานรวมกับผูมีสวนไดสวนเสียจะชวย
                  พัฒนานโยบายและกระบวนการตาง ๆ ไดครอบคลุมมากยิ่งขึ้น
             ๔    การติดตามและการรายงานผลการดําเนินงาน การรายงานทําใหผูมีสวนไดสวนเสียโดยเฉพาะอยางยิ่ง นักลงทุน
                  เขาใจวา ทําไมบริษัทจึงใหความสําคัญกับประเด็นสิทธิมนุษยชนและมีประโยชนตอผูใดบาง รวมทั้งการเผยแพร
                  รายงานการประเมินผลกระทบดานสิทธิมนุษยชน ซึ่งแสดงถึงความโปรงใสของการปฏิบัติงานของสถานประกอบ
                  การธุรกิจ หวงโซอุปทาน และหนวยงานรัฐ หรือเอกชนที่เกี่ยวของ

             ๕    การแกไขใหถูกตองและเยียวยา โดยหากพบวา เปนผูกอใหเกิดหรือมีสวนกอใหเกิดผลกระทบเชิงลบดาน
                  สิทธิมนุษยชน ควรแกไขใหถูกตอง หรือมีสวนรวมกับการแกไขผานกระบวนการที่ชอบธรรม โดยจัดตั้งหรือมีสวน
                  ในการจัดตั้งกลไกรับเรื่องรองเรียนสําหรับผูมีสวนไดสวนเสียที่อาจไดรับผลกระทบเชิงลบจากกิจกรรมของตนเอง
                  เพื่อใหเรื่องรองเรียนเหลานั้น ไดรับการจัดการอยางทันทวงที และมีการเยียวยาโดยตรง
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57