Page 49 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 49
๔๗
¢ŒÍàʹÍá¹Ð
๑. รัฐไทยตองมีอํานาจในการจัดการกับการลงทุนหรือการพัฒนาจากตางประเทศในประเทศไทย โดยใชหลัก
ปองกันไวกอน และการฟนฟูตาง ๆ ที่ดีและมีประสิทธิภาพอยางแทจริง ในขณะที่สถาบันการเงินหรือธนาคาร
ตองกําหนดใหทางบริษัทผูกูวางเงินประกัน (กําหนดสัดสวนรอยละ) จากเงินที่กูมาไวเปนกองทุนปองกันความเสี่ยง
และฟนฟูเยียวยาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และไมควรสนับสนุนผูลงทุน/หนวยงานที่นํา SLAPP มาใช
กับนักปกปองสิทธิมนุษยชนในทุก ๆ ประเด็น โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีผลกระทบขามพรมแดน
๒. หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับการทํางานดานสิทธิมนุษยชน เชน กสม. หรือ กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ
กระทรวงยุติธรรม ซึ่งพิจารณาใหรางวัลเกี่ยวกับบริษัทดีเดนดานสิทธิมนุษยชน ควรพิจารณาเรื่องสิทธิมนุษยชน
ในการประกอบธุรกิจอยางถี่ถวน โดยพิจารณาวาบรรษัท บริษัท หรือกลุมบริษัทในเครือนั้น ๆ ถูกฟองคดีหรือ
มีเรื่องรองเรียนจากชุมชนผูไดรับผลกระทบหรือไม รวมถึงการทําบัญชีเฝาระวัง (Blacklist) การประกอบการธุรกิจ
ที่สงผลกระทบตอสิทธิมนุษยชน
๓. ภาครัฐหรือองคกรอิสระควรสรางแรงจูงใจใหรัฐวิสาหกิจ สถาบันการเงิน บรรษัท หรือบริษัทตาง ๆ ดําเนินธุรกิจ
ตลอดหวงโซอุปทาน (supply chain) อยางมีธรรมาภิบาลที่คํานึงผลกระทบดานสิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน สิ่งแวดลอม
ผานการใหคะแนน Fair Cross Border Business โดยใชแผน NAP เปนเกณฑในการตัดสิน โดยผูชนะจะไดรับ
สิทธิพิเศษบางประการ อาจเปนการลดหยอนทางภาษี หรืออื่น ๆ เปนตน สถาบันการเงินควรมีขอกําหนดใหมีการ
จัดทํารายงานประเมินความเสี่ยงดานการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามหลักกระบวนการปองกันไวกอน ในการใหเงิน
กูแกบริษัทหรือโครงการที่จะลงทุนในตางประเทศ
๔. ประเทศไทยควรเขารวมเปนสมาชิกขององคกรเพื่อความรวมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) หรือควรมีกลไก
ในลักษณะเดียวกับกลไกประสานและดําเนินงานกลางภายในประเทศ (NCP) ของ OECD เพื่อรับเรื่องรองเรียนจาก
ประชาชนที่ไดรับผลกระทบและกระจายงานหรือประสานความรวมมือตอกับหนวยงานที่เกี่ยวของหรือแมกระทั่ง
สถานทูตของประเทศตาง ๆ หรือกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพควรพัฒนาเปน NCP รวมกับหนวยงานอื่น ๆ
โดยตองมีองคกรภาคประชาสังคมและชุมชนเขาไปมีสวนรวมดวย NCP ตองเปดชองใหประชาชนสามารถรองเรียนไดงาย
ในทุกชองทาง
๕. หนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ บรรษัท ตลอดจนบริษัทตาง ๆ ตองเปดเผยสัญญาทางธุรกิจในโครงการตาง ๆ
ที่มีผลผูกพันกับผลประโยชนสาธารณะ เพื่อใหสาธารณชนไดรับทราบและตรวจสอบไดอยางทั่วถึง
๖. ภาครัฐควรออกกฎหมายใหรัฐวิสาหกิจ ภาคธุรกิจตองเปดเผยขอมูลหวงโซอุปทาน ทั้งเรื่องแหลงทุน บริษัทลูกหรือ
บริษัทในเครือ และการใชแรงงาน รวมถึงวัตถุดิบที่ไดจากการลงทุนในธุรกิจในทุกโครงการ
๗. ภาครัฐตองกําหนดใหรัฐวิสาหกิจ บรรษัท และบริษัทตาง ๆ จัดทําการประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมเชิง
ยุทธศาสตร (SEA) และการประเมินผลกระทบขามพรมแดน (TIA) ในโครงการลงทุนตาง ๆ จากหนวยงานที่เปนกลาง
หรือมีความเปนอิสระ