Page 50 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 50
๔๘
๘. ภาครัฐควรกําหนดกรอบลงโทษทางกฎหมายทั้งทางแพงและทางอาญาที่ชัดเจนและเปนรูปธรรมตอรัฐวิสาหกิจ
บรรษัท หรือบริษัท หากมีการพิสูจนไดวามีการละเมิดสิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน และสิ่งแวดลอมเกิดขึ้นจริง
และมีกลไกการรองเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนนั้นสามารถเขาถึงไดอยางปลอดภัย
๙. ภาครัฐควรประกาศยุติหรือระงับการลงทุนและการใหความชวยเหลือทางการเงินรวมกับรัฐบาลในประเทศตาง ๆ
ที่พิสูจนไดวามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นรายแรงหรือมีแนวโนมที่จะมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นในอนาคต
โดยเฉพาะภายใตการบริหารประเทศของรัฐบาลเผด็จการ
๑๐. กรณีที่พบวา การลงทุนขามพรมแดนของประเทศไทย ไปเกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ
ที่ถือเปนอาชญากรรมรายแรง หรือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรายแรงภายใตกฎหมายระหวางประเทศ
ไดแก อาชญากรรมสงคราม อาชญากรรมตอมวลมนุษยชาติ การฆาลางเผาพันธุ การนําคนมาเปนทาส การทรมาน
การสังหารนอกกระบวนการยุติธรรม และการบังคับสูญหาย ควรไมนับอายุความในการดําเนินคดีกับผูลงทุนดังกลาว
๑๑. รัฐควรแกไขกฎหมายในประเทศเพื่อประกันวาอายุความจะไมเปนการจํากัดสิทธิผูเสียหายที่ประสงคจะดําเนินคดี
เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน สิทธิชุมชน และสิ่งแวดลอมที่กระทําขึ้นในตางประเทศโดยรัฐวิสาหกิจหรือบริษัทไทย
๑๒. รัฐควรสนับสนุนเปดโอกาสใหภาคประชาสังคม มีกระบวนการรวมในการตรวจสอบ ติดตามสถานการณธุรกิจ
กับสิทธิมนุษยชน (การสนับสนุนงบประมาณ หรือการดําเนินการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ)
๑๓. รัฐควรยกเลิกการใชหลัก Double Action-ability ตามมาตรา ๑๕ พระราชบัญญัติวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย
พ.ศ. ๒๔๘๑ โดยใชหลัก lex loci delicti ตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง เทานั้น
๑๔. รัฐควรนําหลัก A duty of care ในฐานะหลักกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และนําหลักความรับผิดโดยไมคํานึงถึง
ความเปนนิติบุคคล (Piercing the corporate veil) มาบัญญัติเปนกฎหมาย เพื่อดูแลใหเกิดกระบวนการเยียวยา
หรือการติดตามบังคับใชกฎหมายที่ดี และมีประสิทธิภาพ รวมถึงการพิจารณาขยายประเด็นการเรียกรองคาเสียหาย
ทางจิตใจในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิในทุกเรื่อง