Page 47 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 47
๔๕
¢ŒÍ·ŒÒ·Ò ¡Ã³ÕµÑÇÍ‹ҧ ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§ áÅФÇÒÁàËç¹
๓. การบังคับใชกฎหมาย และกรอบอายุความ และ (๑) การกำหนดอายุความการกระทำละเมิด
การขัดกันของกฎหมาย อาทิ พระราชบัญญัติวา ของประเทศตาง ๆ ไมเหมือนกัน หรือในบางลักษณะ
ดวยการขัดกันแหงกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑ ของประเทศ ไมมีการกำหนดไว ทำใหกิจกรรม
การลงทุนหรือการพัฒนาตาง ๆ แสวงประโยชน
หรือเอาเปรียบจากชองวางดังกลาว
(๒) พระราชบัญญัติวาดวยการขัดกันแหงกฎหมาย
พ.ศ. ๒๔๘๑ มาตรา ๑๕ ใชหลัก Double
Action-ability ทำใหเกิดภาระในการพิสูจน
ของผูฟองมากเกินไป (อาทิ กรณีคดีน้ำตาล
ที่อุดรมีชัย กัมพูชา) และ มาตรา ๕ ใหอำนาจ
ศาลในการที่จะพิจารณาเกี่ยวกับความสงบ
เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี ซึ่งการตีความอาจ
จะสงผลกระทบตอการคุมครองสิทธิมนุษยชน
และสิ่งแวดลอม
๔. การดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตรเพื่อปดกั้นการมี การใชกฎหมายคุกคามนักปกปองสิทธิมนุษยชน
สวนรวมสาธารณะ หรือการฟองปดปาก (SLAPP) ผูฟองคดี รวมถึงสื่อมวลชนที่เผยแพรกรณีการดำเนินการ
ของธุรกิจ หรือโครงการพัฒนาที่สงผลกระทบ
ตอสิทธิมนุษยชน
๕. การมีชองวางของการรับผิดของคณะกรรมการ (๑) การขาดกฎหมายควบคุมความรับผิดตอบริษัท
บริหารหรือผูถือหุนของบริษัท/ธุรกิจ ไมผูกกับ ในเครือ หรือการจำแนกความสัมพันธระหวาง
บริษัทโดยรวม โดยแมวามีการพิพากษาในตาง บริษัทแม และบริษัทลูก
ประเทศแลว แตประเทศไทยมิไดลงนามวา (๒) การหลบเลี่ยงการรับผิด โดยใชการจดทะเบียน
การดำเนินการผูกพันในประเทศไทย ก็ตองมี ตั้งบริษัทใหมในกฎหมายของประเทศนั้น ๆ ทำให
การฟองรองในประเทศไทย ไมสามารถบังคับการรับผิดในประเทศตนทาง
ของการลงทุนได และกลายเปนความยุงยาก
ในการรับผิดชอบ (อาทิ กรณีอุดรมีชัย และเฮงดา)
(๓) ลักษณะกฎหมายที่เปนการกำหนดตัวการตัวแทน
ทำใหตองมีกระบวนการพิสูจนความรับผิดชอบ
(๔) ความรู ความเขาใจในการบังคับคดี