Page 46 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 46

๔๔





                         ¢ŒÍ·ŒÒ·Ò                ¡Ã³ÕµÑÇÍ‹ҧ ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§ áÅФÇÒÁàËç¹

             ๒.  การพิจารณารับคำรอง/คำฟอง ทั้งของกลไก  กลไกในศาล
               ในและนอกระบบศาลยุติธรรม รวมถึงสถาบัน  (๑) ความรู ความเขาใจของกลไกตุลาการในการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซึ่งสำหรับประเทศไทย     พิจารณาเกี่ยวคำรอง/คำฟองขามพรมแดน
               หมายถึง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ   (๒) การเขาถึงกระบวนการยุติธรรมในประเทศไทย
               (กสม.) และกลไกกำกับการลงทุน หรือกิจการ    กำหนดใหตองชำระคาธรรมเนียมศาล ทำใหเปน
               ทางธุรกิจตาง ๆ                      อุปสรรคในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม
                                                    โดยเฉพาะการฟองคดีแบบกลุม (class action)
                                                    ที่กำหนดใหผูฟองตองมีกำลังในการสูคดีจนถึงที่สุด
                                                    ทำใหไมสามารถขอรับการยกเวนคาธรรมเนียม
                                                    ศาลได
                                                  (๓) การบังคับคดีที่มีคำพิพากษาจากศาลตางประเทศ
                                                    เพื่อใหไดรับการเยียวยาขามพรมแดน ยังไมสามารถ
                                                    ดำเนินการไดโดยอัตโนมัติ ตองมีการนำคดีมาฟอง
                                                    และมีคำพิพากษาในศาลไทย จึงจะสามารถบังคับ
                                                    คดีได
                                                  (๔) การพิจารณาเขตอำนาจศาล ยังไมมีกฎหมาย
                                                    ที่ชัดเจนกำหนดใหศาลมีอำนาจรับฟองในคดี
                                                    ขามพรมแดน ทำใหมีการใชดุลพินิจของผูพิพากษา
                                                    แตละคนที่จะพิจารณารับหรือไมรับคำฟอง


                                                  กลไกนอกศาล
                                                  (๑) กฎหมายหรือบทบัญญัติเกี่ยวกับการรับคำรอง
                                                    ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รวมถึง กสม.
                                                    ขาดความชัดเจน มีบทบัญญัติไวแบบกวาง
                                                    ทำใหเกิดการตีความ และปฏิเสธการรับคำรอง
                                                    ในการรับหรือตรวจสอบการละเมิดที่เกิดจากบุคคล/
                                                    นิติบุคคลสัญชาติของตนในตางประเทศ
                                                  (๒) กลไกการดำเนินการขาดเสถียรภาพและ
                                                    ความเขาใจถองแทในการพิจารณาคำรอง
                                                  (๓) รายงานผลการตรวจสอบ และขอเสนอแนะ
                                                    ขาดการติดตาม กำกับ ทำใหไมมีผลใด ๆ
                                                    ตอกระบวนการในการตรวจสอบ รวมถึง
                                                    บทลงโทษตอหนวยงานที่กระทำการละเมิด
                                                  กลไกกำกับการลงทุน หรือกิจการทางธุรกิจตาง ๆ
                                                  บริษัท/ภาคธุรกิจ รวมถึงสถาบันการเงิน และกลไก
                                                  กำกับการลงทุนสวนใหญ ยังไมมีกลไกแกไขปญหา
                                                  หรือรับเรื่องรองเรียน บทบัญญัติตาง ๆ กำหนดให
                                                  เปนกลไกหรือมาตรการเชิงสมัครใจเทานั้น


                                                  นอกจากนั้น ยังพบวา รัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของ
                                                  มักนำเรื่องความสัมพันธระหวางประเทศ มาใชใน
                                                  การพิจารณา หรือดูแลผลกระทบจากการลงทุน
                                                  ระหวางประเทศเปนองคประกอบหลักมากกวาเรื่อง
                                                  สิทธิมนุษยชน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51