Page 45 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 45
๔๓
ÀÒ¾ÃÇÁ»ÃÐà´ç¹¡ÒÃŧ·Ø¹ÃÐËNjҧ»ÃÐà·È ºÃÃÉÑ·¢ŒÒÁªÒµÔ
จากการติดตามและประเมินกระบวนการ
และแผน NAP ตั้งแตป ๒๕๖๒ เปนตนมาพบวา
๑ กระบวนการทํา NBA/NAP ยังขาดการมีสวนรวมอยางแทจริง อีกทั้งสาธารณชนวงกวาง และหนวยงาน
ภาครัฐยังขาดความตระหนักรูและเขาใจ อีกทั้งรัฐบาลยังไมใหความสําคัญอยางจริงจังตอแผน NAP
๒ ขอเสนอแนวทางปฏิบัติตาง ๆ ใน NAP ยังเสนอแบบกวางหรือเปนภาพรวม ทําใหไมสามารถบังคับใช
๒๘
หรือนําไปสูการปฏิบัติจริง
๓ กลไกในการกํากับดูแลยังเนนไปที่รัฐหรือหนวยงานของรัฐเปนสําคัญ ขาดการตรวจสอบแบบมีสวนรวม
รวมถึงไมมีกลไกในการเปดเผยขอมูลในการติดตาม
๔ การดําเนินการของรัฐมีวิธีการปฏิบัติที่ขัดกันระหวางสิทธิมนุษยชนที่ปรากฎในแผน NAP กับการควบคุม
สิทธิพลเมืองและการเมืองตาง ๆ อาทิ กรณีการออกกฎหมาย หรือขอกําหนดที่ริดลอนหรือละเวนการปฏิบัติ
ในบางลักษณะเพื่อใหเกิดการพัฒนาธุรกิจ
การติดตามกรณีรองเรียนดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนในประเด็นผลกระทบจากการลงทุนขามพรมแดน จํานวน
๒๙
๕ กรณี พบขอจํากัดตาง ๆ
¢ŒÍ·ŒÒ·Ò ¡Ã³ÕµÑÇÍ‹ҧ ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§ áÅФÇÒÁàËç¹
๑. การขาดกฎหมายกำกับดูแลและควบคุมการลงทุน (๑) การมีชองวางทางกฎหมายภายในของประเทศตาง ๆ
ขามพรมแดน (ทั้งภายใน และนอกประเทศ) ทำใหไมสามารถติดตามเอาผิด บังคับใชโทษ และ
และการใชชองวางของกฎหมายภายในประเทศ ดำเนินการเยียวยาไดอยางแทจริง
เพื่อนบาน (๒) การขาดกฎหมายระดับภูมิภาคเกี่ยวกับการประเมิน
ผลกระทบตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม (EHIA)/
การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอมเชิงยุทธศาสตร
(SEA) ขามพรมแดน
(๓) การขาดกลไกรวมในการเฝาระวังผลกระทบ
ขามพรมแดน
(๔) การขาดกลไกการตรวจสอบและรองเรียนบริษัท
ในประเทศไทย
(๕) ภาระในการเฝาระวังผลกระทบตกแกประเทศ
ที่อาจจะไดรับผลกระทบ
๒๘ ประมวลและสังเคราะหจาก (๑) การประเมินขอมูลพื้นฐานระดับชาติดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Baseline Assessment on Business and
Human Rights) : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวของกับการลงทุนของประเทศ (๒๕๖๓) และ (๒) ขอมูลนําเสนอการประชุมติดตามสถานการณธุรกิจกับ
สิทธิมนุษยชนในกรณีการลงทุนระหวางประเทศ และบรรษัทขามชาติ ในแผน NAP รวมกับผูมีสวนไดสวนเสีย วันที่ ๒๓ – ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๔
๒๙ ประกอบดวย (๑) โรงไฟฟาถานหินหงสาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (๒) การกอสรางเขื่อนปากแบง และเขื่อนดอนสะโฮงในพื้นที่แมนํ้าโขง
ตอนลาง ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและราชอาณาจักรกัมพูชา (๓) การลงทุนของธุรกิจนํ้าตาล สัญชาติไทยในราชอาณาจักรกัมพูชา (จังหวัดอุดรมีชัย
และจังหวัดเกาะกง) (๔) การกอสรางและพัฒนาโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย สหภาพเมียนมา และ (๕) การทําเหมืองแรบานชอง สหภาพเมียนมา