Page 39 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 39

๓๗





                                            ¢ŒÍàʹÍá¹Ð



             ๑.  การปรับใชแนวทางที่มีพื้นฐานเรื่องของสิทธิมนุษยชนในการทําโครงการพัฒนาตาง ๆ ในขณะเดียวกันก็จัดตั้ง
                กระบวนการหรือกลไกเครื่องมือในการมีสวนรวม เพื่อเปนเครื่องรับประกันไดวาจะไมมีการตัดสินใจใด ๆ ที่กอใหเกิด
                ผลกระทบตอการเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติโดยปราศจากการปรึกษาหารือกับบุคคลและชุมชนที่เกี่ยวของทั้งนี้
                เพื่อใหไดมาซึ่งการยินยอมที่เปนอิสระ กอนการตัดสินใจดําเนินโครงการ และมีขอมูลประกอบรอบดานแลว (FPIC)
                สอดคลองไปกับขอสังเกตในบทสรุปป ๒๕๕๘ ของคณะกรรมการประจํากติการะหวางประเทศดานสิทธิทางเศรษฐกิจ
                สังคม และวัฒนธรรม (ESCR) แหงสหประชาชาติที่มีตอประเทศไทย
             ๒.  การสงเสริมบทบาทชุมชนทองถิ่น รวมทั้งกลุมชนชาติพันธุ และชนกลุมนอย ใหมีบทบาทสําคัญในการบริหารจัดการ
                สิ่งแวดลอมรวมถึงการพัฒนาแผนดินที่ซึ่งพวกเขาอาศัยอยู เพราะคํานึงวาองคความรูและภูมิปญญาของพวกเขานั้น
                มีคุณคาเปนแกนสาระและตองไดรับการพิจารณาในกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ
             ๓.  การทบทวนและศึกษาผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดลอมของการพัฒนาและโครงการกอสรางบนพื้นฐานของหลักการ
                ดานสิทธิมนุษยชน รวมถึงมองหาทางเลือกอื่นในการบริหารจัดการนํ้าซึ่งกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอระบบนิเวศ
                ใหนอยที่สุด รวมทั้งที่จะกระทบกับคุณภาพชีวิตของชุมชนดวย
             ๔.  การรับประกันวา ขอมูลการคนพบจากการศึกษาหรืองานทางวิชาการอันเกี่ยวกับผลกระทบเชิงสังคมและสิ่งแวดลอม
                ของโครงการนั้น ๆ จะตองไดรับการใหนํ้าหนักพิจารณาในขั้นตอนการตัดสินใจ และโครงการจะตองไมดําเนินการ
                ตอไปหากวาผลการศึกษาบงชี้วาโครงการจะสรางผลกระทบเชิงลบตอสังคมและสิ่งแวดลอม
             ๕.  การทบทวนอยางจริงจังถึงผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบของนโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                ของประเทศไทย ซึ่งรวมทั้งโครงการขนาดเล็กและขนาดใหญดวย การทบทวนนโยบายเหลานั้นเปนบทเรียนเชิงประจักษ
                เพื่อนําไปสูการปรับประยุกตใชสําหรับโครงการในอนาคตตอไป
             ๖.  การกําจัดชองวางในกฎเกณฑเกี่ยวเนื่องดวยการปกปองคุมครองสิ่งแวดลอมและโครงการเขื่อน และนําหลักการ
                ของปฏิญญารีโอมาเปนเกณฑ
             ๗.  การกําหนดกรอบทางกฎหมายที่ชัดเจนเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งนี้เพราะมีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ
                โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องของนํ้าและสิ่งแวดลอม และเพื่อใหนําหลักการสิทธิมนุษยชนมาบูรณาการกับหลักการ
                ความยั่งยืน
             ๘.  การกําหนดมาตรการที่จะรับประกันถึงการเขาถึงขอมูลขาวสารของสาธารณชน การมีสวนรวมของสาธารณชน
                การศึกษาถึงผลกระทบ การปกปองคุมครองสิ่งแวดลอม และสิทธิในที่ดินและถิ่นที่อยูอาศัยของประชาชน
             ๙.   การพัฒนาโครงการระดับชาติและนําไปปฏิบัติ อันมีการยึดโยงกับหลักการแนวทางของสหประชาชาติวาดวยธุรกิจ
                กับสิทธิมนุษยชน
             ๑๐. การสรางเงื่อนไขเพื่อใหชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากเขื่อนและโครงการพัฒนาอื่น ๆ สามารถเขาถึงกลไกทั้งทางดาน
                กฎหมายและดานอื่นในการไดรับความชวยเหลือ แกไขปญหาและไดรับความชวยเหลือในทางกฎหมาย
             ๑๑. การยุติโครงการเขื่อนที่มีผลกระทบเชิงลบตอชุมชนทองถิ่นโดยทันที และฟนฟูสภาพแมนํ้า เพื่อการฟนฟูสภาพ
                วิถีการดํารงชีวิตของชุมชนทองถิ่น
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44