Page 41 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 41

๓๙





                             ÀÒ¾ÃÇÁ»ÃÐà´ç¹¹Ñ¡»¡»‡Í§ÊÔ·¸ÔÁ¹ØÉª¹       òô



                นักปกปองสิทธิมนุษยชนเปนบุคคลที่มีการขับเคลื่อนประเด็นที่เปนประโยชนตอสาธารณะ มีความเกี่ยวของกับ
             การทําหนาที่ในพื้นที่และสรางความตระหนักทั้งเรื่องนิติธรรม การสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งสอดคลองกับ
             เปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน (SDG) ขอ ๑๖ และการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม การสรางกลไกตาง ๆ การทํางาน
             ในหนาที่ของนักปกปองสิทธิมนุษยชน มีความสําคัญในการขับเคลื่อนการสรางความรับผิดชอบของรัฐ โดย UNGP
             ใหความสําคัญและเชื่อมโยงไปที่การตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอยางรอบดาน (Human Rights Due Diligence : HRDD)




                  นอกจากนั้น UNGP ยังกลาวถึง บทบาทของ  ซึ่งเปนที่ยอมรับทั่วโลก และเปนแนวทางที่รัฐตาง ๆ
               นักปกปองสิทธิมนุษยชนอยางชัดเจนและการเขาถึง  นําไปปฏิบัติเชื่อมโยงกับกติการะหวางประเทศวาดวย
               การเยียวยา ในขณะที่ปฏิญญาวาดวยสิทธิและ  สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) อนุสัญญา
               ความรับผิดชอบของปจเจกบุคคล กลุมบุคคล และองคกร  วาดวยการตอตานการทรมานและการกระทําอื่น ๆ
               ของสังคมในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน  ที่โหดราย ไรมนุษยธรรม หรือยํ่ายีศักดิ์ศรี (CAT) และ
               และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน (Declaration on the Rights   อนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการคุมครองบุคคล
               and Responsibility of Individuals, Groups and   ทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ (CPED)
               Organs of Society to Promote and Protect
               Universally Recognized Human Rights and
                                  ๒๕
               Fundamental Freedoms)



                นอกจากนั้น จากเอกสารขอเท็จจริง หมายเลข ๒๙
             (Fact sheet No.29)  ของสํานักงานขาหลวงใหญดาน
                          ๒๖
             สิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (OHCHR) ไดกําหนด
             นิยาม “นักปกปองสิทธิมนุษยชน” คือ
                ๑) การตอสูเพื่อปกปองสิทธิของบุคคลอื่น ๆ เพื่อ
                  ประโยชนสาธารณะ โดยหมายรวมถึงการกระทํา
                  เพื่อตนเองและเพื่อประโยชนสาธารณะ
                ๒) การกระทําปกปองสิทธิตามกฎหมาย ขนบธรรมเนียม
                ๓) การกระทําสันติวิธี










                ๒๔  ประมวลและสังเคราะหจาก (๑) การประเมินขอมูลพื้นฐานระดับชาติดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Baseline Assessment on Business and Human
             Rights) : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวของกับการลงทุนของประเทศ (๒๕๖๓) และ (๒) ขอมูลนําเสนอการประชุมติดตามสถานการณนักปกปองสิทธิมนุษยชน
             ในแผน NAP รวมกับผูมีสวนไดสวนเสีย วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔
                ๒๕  ดูรายละเอียดจาก <www.ohchr.org/Documents/Issues/Defenders/Declaration/Thai_Declaration.pdf>
                ๒๖  ดูรายละเอียดจาก <www.ohchr.org/Documents/Publications/FactSheet29en.pdf>
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46