Page 20 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 20

๑๘





                                ÀÒ¾ÃÇÁ»ÃÐà´ç¹ÊÔ·¸Ôáç§Ò¹      ññ



               จากการทบทวนสถานการณดานสิทธิแรงงาน พบความกาวหนาในการบังคับและปฏิบัติตามขอเสนอแนะ
           เกี่ยวกับประเด็นแรงงานที่เนนใหการบังคับใชกฎหมายและการปฏิบัติตามนโยบายที่มีผลเปนการคุมครอง
           แรงงาน ทั้งการประกันคาแรงขั้นตํ่า ความปลอดภัยในการทํางานและประกันการเขาถึงบริการดานสุขภาพ
           และความยุติธรรมของแรงงานโยกยายถิ่นฐานอยางเทาเทียมกัน ดวยการเปดใชระบบการจดทะเบียนแรงงาน
           ขามชาติและออกกฎหมายใหม เพื่อตอบสนองตอขอเสนอแนะดังกลาว อยางไรก็ตาม ดวยพลวัตของการโยกยาย
           ถิ่นฐานของแรงงาน ทั้งแรงงานภายในประเทศและแรงงานขามชาติ สงผลใหรัฐไทยตองประสบกับขอทาทาย
           ในการคุมครองสิทธิมนุษยชนตามพันธกรณีดานสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคีอยู ในปจจุบัน




                     »˜ÞËÒ/¢ŒÍ·ŒÒ·Ò                   ʶҹ¡Òó/¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§
             มาตรฐานการคุมครองแรงงานถวนหนาขอเท็จจริง  แรงงานขามชาติไมสามารถเขาถึงสิทธิของกองทุน
             ยังพบวา บทบัญญัติตามพระราชบัญญัติประกันสังคม   ประกันสังคมทั้ง ๗ สิทธิไดอยางสมบูรณ อาทิ กรณี
             พ.ศ. ๒๕๓๓ มุงเนนการคุมครองแรงงานโดยแยก  สิทธิในการเบิกเงินสงเคราะหบุตรแรงงานขามชาติ
             เฉพาะกลุม อันสงผลถึงสิทธิที่จะไดรับการคุมครองที่  ไมสามารถเบิกไดเหมือนแรงงานไทยดวยเงื่อนไข
             แตกตางกัน ไมกอใหเกิดความเทาเทียมตามเจตนารมณ  ของประกันสังคม ทั้งนี้ยังมีเรื่องของสิทธิตามกฎหมาย
             ของกฎหมาย                            คุมครองแรงงานซึ่งแรงงานขามชาติไมไดรับดวย เชน
                                                  วันหยุดพักผอนประจำป (๖ วันตอป) วันหยุดตาม
                                                  ประเพณี (๑๓ วันตอป) วันลาปวยตองไดรับคาจาง
                                                  ปละ ๓๐ วัน วันลาทำหมัน วันลาไปศึกษาเรียนรู และ
                                                  คาจางในวันลาคลอด ๔๕ วัน เปนตน



             การกำหนดกรอบกฎหมายภายในใหสอดคลองกับ  ปจจุบันแรงงานขามชาติในประเทศไทยยังไมสามารถ
             อนุสัญญาองคการ แรงงานระหวางประเทศ ฉบับที่   รวมกันจัดตั้งสหภาพแรงงานหรือดำรงตำแหนงเปน
             ๘๗ และฉบับที่ ๙๘ โดยผลของการแกไข พระราช  กรรมการ อนุกรรมการ และที่ปรึกษาสหภาพแรงงาน
             บัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๑๘ และพระราช  แตมีสิทธิเพียงเขาเปนสมาชิกสหภาพแรงงานไดเทานั้น
             บัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ พ.ศ. ๒๕๔๓
             กระทบตอสิทธิในการรวมกลุมของแรงงานถูกแบง
             แยกออกตามประเภทกลุม แรงงาน ไมเปนไปตาม
             หลักการเดียวกันอีกทั้งกระบวนการแกไขกฎหมาย
             ดังกลาวไมผานการรับฟงความเห็นจากกลุมแรงงาน
             ซึ่งมีสวนไดเสียโดยตรงตอการบังคับใช






              ๑๑  ประมวลและสังเคราะหจาก (๑) แนวทางในการสงเสริมและคุมครองสิทธิของแรงงานขามชาติในประเทศไทย: กรณีแรงงานขามชาติในอุตสาหกรรมสัตวปก (๒๕๖๓)
           และ (๒) ขอมูลนําเสนอการประชุมติดตามสถานการณดานแรงงานใน แผน NAP รวมกับผูมีสวนไดสวนเสีย วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔ และวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๔
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25