Page 21 - แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการร่วมประเด็นสิทธิมนุษยชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
P. 21
สิทธิชุมชน กับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 21
สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
๑) สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ รับรองสิทธิของบุคคลและชุมชนในการได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ และถือเป็น
๔
หน้าที่ของรัฐที่ต้องเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงาน
ของรัฐที่มิใช่ข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐหรือเป็นความลับของทางราชการตามที่
กฎหมายบัญญัติ และต้องจัดให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารดังกล่าวได้โดยสะดวก ๕
นอกจากนี้ หากรัฐจะด�าเนินการหรืออนุญาตให้ผู้ใดด�าเนินการในกิจกรรมที่อาจ
มีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต
หรือส่วนได้เสียส�าคัญอื่นใดของประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง
บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล ค�าชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐก่อน
การด�าเนินการหรืออนุญาตดังกล่าว และถือเป็นหน้าที่ของรัฐที่ต้องให้ข้อมูล ค�าชี้แจง
และเหตุผลในการด�าเนินการต่อประชาชน ๖
ส�าหรับกฎหมายระดับพระราช
บัญญัติ มีพระราชบัญญัติข้อมูล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจำักรไทย ข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
พุทธศักราช ๒๕๖๐ รับรองสิทธิของ ซึ่งถือเป็นกฎหมายกลางที่รับรองสิทธิ
บุคคลและชุมชนในการได้รับทราบ ของประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสาธารณะ ที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานรัฐ
ในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ
ตามที่กฎหมายบัญญัติ ภายใต้หลักการ “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิด
เป็นข้อยกเว้น” กล่าวคือ หน่วยงานรัฐ
ต้องเผยแพร่หรือให้ข้อมูลตามที่ประชาชน
ร้องขอ จะไม่เปิดเผยได้เฉพาะบางกรณี
เช่น ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
เรื่องที่เกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ
ข้อมูลที่รุกล�้าสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร
เป็นต้น อย่างไรก็ดี ค�าสั่งไม่เปิดเผยข้อมูล
๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๔๑ (๑)
๕ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๙
๖ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๘