Page 18 - แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการร่วมประเด็นสิทธิมนุษยชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
P. 18
18 สำ�นักงานคณะกรรมการสำิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประเด็นตัวอย่างจำากรายงานการตรวจำสอบ
ที่ผ่านมา กสม. ได้จัดท�ารายงานผลการตรวจสอบและชี้ให้เห็นถึง
การด�าเนินการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่บกพร่อง อาทิ
• กรณีบริษัทที่ปรึกษามีการแอบอ้างสถาบันการศึกษาในการจัดท�า
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แต่ผู้แทนสถาบันการศึกษา
ได้ปฏิเสธการมีส่วนร่วม (รายงานผลการตรวจสอบที่ ๑๕๗/๒๕๕๙)
• การน�าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับโครงการที่ไม่ครบถ้วน ท�าให้โครงการ
ที่ควรจัดท�ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไม่เข้าข่ายที่ต้องจัดท�า
รายงานดังกล่าว (รายงานผลการตรวจสอบที่ ๑๕๗/๒๕๕๙)
• การไม่ได้ก�าหนดมาตรการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ให้ครอบคลุมผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นทั้งหมด (รายงานผลการตรวจสอบที่
๘๑๙/๒๕๖๐)
นอกจากนี้ ยังพบช่องว่างทางกฎหมายที่ก�าหนดไว้ไม่ครอบคลุม อาทิ
• การก่อสร้างถนนของเอกชนเชื่อมต่อโครงการก่อสร้างคลังก๊าซ
ในพื้นที่ซึ่งเป็นพื้นที่ชุ่มน�้าที่มีความส�าคัญ (Ramsar Sites) ไม่เป็นไปตามนิยาม
ค�าว่าทางหลวง จึงไม่ต้องจัดท�ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฯ (รายงานผล
การตรวจสอบที่ ๑๕๗/๒๕๕๙)
มาตรา ๕๘ ยังได้รับรองสิทธิของ “บุคคลและชุมชน” ที่จะ “ได้รับข้อมูล ค�าชี้แจง
และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ” ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งของ “กระบวนการมีส่วนร่วม
ของประชาชน” ในระดับ “ร่วมรับรู้” และยังก�าหนดหน้าที่ของรัฐที่ต้อง “ระมัดระวัง
ให้เกิดผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ
น้อยที่สุด” และต้อง “ด�าเนินการให้มีการเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายให้แก่ประชาชน
หรือชุมชนที่ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรมและโดยไม่ชักช้า”