Page 40 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 40

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย




               หนวยการเรียนรูที่ 2 สิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวของกับพลเมือง

                     กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ทาส : ความเปนมาและการถูกกดขี่  เวลา 1.5 ชั่วโมง


              แนวคิดสําคัญ

                     ทาส หมายถึง กลุมบุคคลที่ถูกลิดรอนสิทธิในสังคมเสมือนเปนสิ่งของหรือทรัพยสมบัติของผูอื่น
              ทาสถือเปนชนชั้นตํ่าสุดที่อยูคูกับสังคมในยุคจารีตมาอยางยาวนาน มีหนาที่รับใชผูอื่นโดยมิไดรับการตอบแทน

              จากเจาของและไมมีอิสรภาพในการดํารงชีวิต มักถูกปฏิบัติ ทรมาน หรือลงโทษอยางไรมนุษยธรรม องคการ
              สหประชาชาติในฐานะองคกรระหวางประเทศที่มีหนาที่สงเสริมสันติภาพของโลก จึงกําหนดวาการมีและ

              กดขี่ทาสเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนสากล



              ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวของ
                     ขอ 3  คนทุกคนมีสิทธิในการดํารงชีวิตเสรีภาพ และความมั่นคงแหงตัวตน

                     ขอ 4  บุคคลใด ๆ จะถูกยึดเปนทาส หรือตองภาระความจํายอมไมได ความเปนทาส และ
              การคาทาส เปนหามขาดทุกรูปแบบ

                     ขอ 5  บุคคลใด ๆ จะถูกทรมาน หรือไดรับผลปฏิบัติ หรือการลงโทษที่โหดรายผิดมนุษยธรรม
              หรือตํ่าชาไมได



              มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด

                     ส.2.1 ม.4-6/4   ประเมินสถานการณสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา
                     ส 4.2 ม.4-6/2  วิเคราะหเหตุการณสําคัญตาง ๆ ที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ

              และการเมืองเขาสูโลกสมัยปจจุบัน






                                                                                             39
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45