Page 50 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 50
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ในการขอปล่อยชั่วคราวยังไม่มีความทั่วถึง หน่วยงานภาครัฐ ปี ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๑ มีผู้ยื่นค�าขอที่เป็น
ในฐานะที่เป็นหน่วยงานในการให้บริการประชาชน อาทิ ผู้เสียหายจ�านวน ๖๖,๗๖๓ คน (ฐานความผิดต่อชีวิต
ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ สถานีต�ารวจตามพื้นที่ต่าง ๆ ร่างกาย เพศ และอื่น ๆ ตามล�าดับ) มีผู้ยื่นค�าขอที่เป็น
ส�านักงานอัยการ กรมราชทัณฑ์ และศาล น่าจะเป็น จ�าเลยในคดีอาญา จ�านวน ๓,๒๐๗ คน (ฐานความผิด
หน่วยงานหลักในการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ต้องหา ยาเสพติด ชีวิตและร่างกาย ทรัพย์ อื่น ๆ และเพศ
หรือจ�าเลยทราบถึงสิทธิในการขอรับความช่วยเหลือ ตามล�าดับ) ที่ผ่านมามีการปรับแก้กฎหมายเพื่อให้
จากส�านักงานกองทุนยุติธรรม นอกจากนี้ ยังควรผลักดัน การคุ้มครองผู้เสียหายและจ�าเลยมีความสะดวกและรวดเร็ว
ให้ใช้หนังสือรับรองแทนการช�าระเงินของส�านักงานกองทุน มากขึ้น และในปี ๒๕๖๑ ส�านักงานกิจการยุติธรรมได้จัดท�า บทที่ ๒
ยุติธรรมเพื่อเป็นหลักประกันในการขอปล่อยชั่วคราว โครงการ “การติดตามและประเมินผลการบังคับใช้
ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยทั้งในชั้นพนักงานสอบสวน พนักงาน พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน
อัยการ ศาล หรือผู้มีอ�านาจในการปล่อยชั่วคราว ๖ และค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔”
๙
ทั้งนี้ สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ ส�านักงาน ในขณะเดียวกัน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ศาลยุติธรรมได้มีโครงการวิจัยเรื่อง “การน�าวิทยาการ ได้ศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนากฎหมายและมาตรการ
บริหารความเสี่ยงในเชิงพฤติกรรมศาสตร์มาใช้เพื่อเพิ่ม ในการช่วยเหลือผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิ
ประสิทธิภาพในการปล่อยชั่วคราว” เพื่อหาข้อบ่งชี้ต่าง ๆ และเสรีภาพและจากการกระท�าความผิดทางอาญา
ที่แสดงว่าผู้ต้องหาหรือจ�าเลยที่มีแนวโน้มที่จะหลบหนี เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรา ๒๕ วรรคท้าย ของรัฐธรรมนูญ
ในระหว่างปล่อยชั่วคราว โดยอาศัยการวิเคราะห์ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และ
ทางพฤติกรรมศาสตร์และศาสตร์ว่าด้วยความเสี่ยง แผนการปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบ
เพื่อน�ามาใช้ประกอบการพิจารณาปล่อยชั่วคราวด้วย ๗ จากการกระท�าความผิดทางอาญาของสภาขับเคลื่อน การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
การปฏิรูปประเทศตลอดจนมาตรฐานสากล โดยได้มี
การปฏิรูปการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจาก การจัดท�าร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองช่วยเหลือผู้ได้รับ
การกระท�ความผิดทางอาญา ความเสียหายในคดีอาญา พ.ศ. .... ที่มีวัตถุประสงค์
การด�าเนินงานของระบบการคุ้มครองผู้เสียหายที่ได้รับ เพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ได้รับความเสียหายในคดีอาญา
ผลกระทบจากการกระท�าความผิดอาญาหรือจ�าเลยใน เช่น สิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลความคืบหน้าของคดี
คดีอาญาที่ต่อมาศาลตัดสินว่าเป็นผู้บริสุทธิ์เป็นไปตาม สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองความปลอดภัยระหว่าง
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน การด�าเนินคดี และสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาความเสียหาย
และค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ นอกเหนือจากการเยียวยาด้านการเงิน เป็นต้น ๑๐
๘
ซึ่งให้ความช่วยเหลือในลักษณะของตัวเงิน โดยตั้งแต่
๖ จาก หนังสือส�านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ด่วนที่สุดที่ ยธ ๐๒๑๐๖/๒๙๖๔ ลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ขอจัดส่งข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมิน
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑.
๗ จาก การสัมมนารับฟังความคิดเห็น โครงการวิจัย เรื่อง “การน�าวิทยาการบริหารความเสี่ยงในเชิงพฤติกรรมศาสตร์มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปล่อยชั่วคราว”,
โดย ส�านักงานศาลยุติธรรม, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.iprd.coj.go.th/doc/data/iprd/iprd_1516605803.pdf
๘ จาก สรุปผลการด�าเนินงานสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญของประเทศไทยภายใต้รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ระหว่างปี ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑, โดย กระทรวงยุติธรรม
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_10/2561/st260625611431.pdf
๙ จาก หนังสือมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ นต.๐๔๐๕(๑)/ว.๓๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ขอเชิญประชุมให้ความเห็นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติค่าตอบแทน
ผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔, ๒๕๖๑.
๑๐ จาก เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่อง แนวทางการพัฒนากฎหมายและมาตรการในการช่วยเหลือผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิและเสรีภาพ
และจากการกระท�าผิดทางอาญา, โดย กระทรวงยุติธรรม กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และส�านักงานศูนย์วิจัยและให้ค�าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๖๑. สืบค้น
จาก http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_5/2561/12.2.61v.pdf
49