Page 48 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 48

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



                                                                                ๔
            ๑. การปฏิรูปด้านกระบวนการยุติธรรม                   การปฏิรูปประเทศ  โดยประกอบด้วย ๕ ยุทธศาสตร์
            รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐        ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
            หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศได้ก�าหนดให้มีการปฏิรูป      และการมีส่วนร่วมด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม
            ประเทศในด้านต่าง ๆ ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติ    ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การส่งเสริมและพัฒนากระบวนการไกล่เกลี่ย

            แผนและขั้นตอนการด�าเนินการปฏิรูปประเทศ              ระงับข้อพิพาททั้งทางอาญา  ทางแพ่งพาณิชย์  และ
            พ.ศ.  ๒๕๖๐  น�าไปสู่การแต่งตั้งคณะกรรมการ           ทางปกครอง ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนากฎหมายและ
            ปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อจัดท�าแผนการปฏิรูป      ระบบบริหารงานยุติธรรม ยุทธศาสตร์ที่ ๔ พัฒนาระบบ
            ประเทศแต่ละด้าน  และได้มีการเสนอแผนปฏิรูปฯ          การปฏิบัติต่อผู้กระท�าผิด  และยุทธศาสตร์ที่  ๕      บทที่ ๒

            สภานิติบัญญัติแห่งชาติทราบแล้ว  แผนปฏิรูปประเทศ     การขับเคลื่อนกระบวนการยุติธรรมด้วยดิจิทัล
                                         ๓
            ด้านกระบวนการยุติธรรมก�าหนดการปฏิรูปใน ๑๐ ประเด็น
            อาทิ การก�าหนดระยะเวลาด�าเนินงานในทุกขั้นตอน        ๒. การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม
            ของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจนเพื่อให้ประชาชนได้รับ   การปล่อยชั่วคราว

            ความยุติธรรมโดยไม่ล่าช้า การพัฒนากลไกช่วยเหลือ      การด�าเนินการในด้านกฎหมายและนโยบาย  สนช.
            และเพิ่มศักยภาพเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการ      ได้เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
            ยุติธรรม การพัฒนากลไกการบังคับการตามกฎหมาย          กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
            อย่างเคร่งครัดเพื่อลดความเหลื่อมล�้า การพัฒนาระบบ   (เกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวและการใช้สิทธิฟ้องร้อง

            การสอบสวนเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการปฏิบัติหน้าที่  ด�าเนินคดีหรือการด�าเนินกระบวนพิจารณาในคดี
            ของพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการ  เป็นต้น           อาญา) เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๑ โดยสาระส�าคัญ
            นอกจากนี้ กระทรวงยุติธรรม โดยส�านักงานกิจการ        เป็นการแก้ไขหลักเกณฑ์การปล่อยชั่วคราวเพื่อไม่ให้    การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
            ยุติธรรมได้จัดท�าร่างแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรม   เป็นภาระแก่ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยให้ต้องมีหลักประกัน

            แห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) ซึ่งเป็น      ต่อเจ้าพนักงานหรือต่อศาลเกินสมควร  รวมทั้งเป็น
            ส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติและแผน        การป้องกันมิให้มีการฟ้องคดีอาญาโดยไม่สุจริตอันเป็น

































            ๓   จาก ประกาศส�านักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศแผนปฏิรูปประเทศ (๒๕๖๑, ๖ เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๕ (๒๔ ก, ตอนที่ ๒) สืบค้นจาก http://www.ratchakitcha.
            soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/024_2/1.PDF
            ๔    ข้อมูลจากการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อนและการติดตามประเมินผล (ร่าง) แผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๓
            (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรมเซ็นทรา บายเซ็นทารา ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซนเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร.


                                                                                                               47
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53