Page 47 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 47
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๒.๑ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
ภาพรวม
สิทธิในกระบวนการยุติธรรมได้รับการประกันไว้ในกติกา บัญญัติรับรองสิทธิในการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์
ICCPR หลายข้อ เช่น ข้อ ๙ ข้อ ๑๐ ข้อ ๑๑ และข้อ การควบคุมหรือคุมขังผู้ต้องหาหรือจ�าเลยให้กระท�า
๑๔ ซึ่งเกี่ยวกับสิทธิของบุคคลที่ถูกจับกุมคุมขัง อาทิ เท่าที่จ�าเป็น เพื่อป้องกันมิให้มีการหลบหนี สิทธิที่จะ
สิทธิที่จะไม่ถูกจับกุมหรือควบคุมตัวโดยอ�าเภอใจ ไม่ให้การเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเอง สิทธิในการได้รับ
สิทธิที่จะได้รับแจ้งถึงเหตุผลและข้อหาในการจับกุม การปล่อยชั่วคราว และหมวด ๖ แนวนโยบายพื้นฐาน
สิทธิที่จะมีเวลาและได้รับความสะดวกเพียงพอแก่ แห่งรัฐ มาตรา ๖๘ รัฐพึงจัดระบบการบริหารงาน
การเตรียมการเพื่อต่อสู้คดี สิทธิในการได้รับการสันนิษฐาน ในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม
ไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดี และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการ
ในเวลาอันสมควรหรือได้รับการปล่อยตัวไปโดยมิให้ถือ ยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสียค่าใช้จ่าย
เป็นหลักทั่วไปว่าจะต้องควบคุมบุคคลที่รอพิจารณาคดี สูงเกินสมควร พึงมีมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐ
สิทธิในการได้รับการเยียวยาในกรณีถูกจับกุมหรือ ในกระบวนการยุติธรรมให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้
ควบคุมตัวโดยไม่ชอบ สิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติ โดยเคร่งครัด ปราศจากการแทรกแซงหรือครอบง�าใด ๆ
ด้วยความมีมนุษยธรรมและเคารพในศักดิ์ศรี รัฐต้องให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จ�าเป็นและ
ความเป็นมนุษย์ สิทธิที่จะได้รับความเสมอภาค เหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาสในการเข้าถึง
ในการพิจารณาของศาลและตุลาการ เป็นต้น โดยรัฐธรรมนูญ กระบวนการยุติธรรม รวมถึงการจัดหาทนายความให้
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้มี นอกจากนี้ มาตรา ๒๕๘ ง. ได้ก�าหนดให้มีการปฏิรูป
การบัญญัติสิทธิในกระบวนการยุติธรรมไว้ในหมวด ๓ ประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม ทั้งนี้ในปี ๒๕๖๑
สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา ๒๙ โดยได้ รัฐมีการด�าเนินงานที่ส�าคัญดังนี้
46