Page 44 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 44

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ในการพัฒนาที่ได้รับการรับรองจากสมัชชาสหประชาชาติ    เป็นไปเพื่อเหตุผลที่ชอบธรรม รัฐไม่สามารถหาวิธีการอื่น
            เม่ื่อปี ๒๕๒๙ และได้รับการยืนยันโดยที่ประชุมระดับโลก   มาทดแทนได้ และการใช้อย่างจ�ากัดและเท่าที่จ�าเป็น
            ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในปฏิญญาเวียนนาและแผนปฏิบัติการ   ได้สัดส่วนที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และเป็นมาตรการ
            เมื่อปี ๒๕๓๖                                        จ�าเป็นในสังคมประชาธิปไตย เป็นต้น ซึ่งเป็นแนวทาง

                                                                ที่สอดคล้องกับข้อ ๒๙ ของหลักการของปฏิญญาสากล
            ๓) หลักการจ�ากัดสิทธิและเสรีภาพ ซึ่งปรากฏในข้อ ๒๙   ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่กล่าวถึงข้างต้น               บทน�
            ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน สามารถกระท�าได้
            โดยต้องก�าหนดเป็นกฎหมายและเป็นไปเพื่อประโยชน์       ๒) สิทธิบางประเภทที่รัฐจะสามารถท�าให้ก้าวหน้าหรือ

            ในการเคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อ่ื่น และเพื่อเหตุ   เป็นจริงได้ โดยต้องด�าเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไปภายใต้
            ความจ�าเป็นที่ชอบธรรมในการรักษาศีลธรรมอันดีและความสงบ   ทรัพยากรที่มีอยู่ (progressive realization of rights)
            เรียบร้อยอันพึงมีส�าหรับสังคมประชาธิปไตย            ซึ่งรัฐจ�าเป็นต้องแสดงความมุ่งมั่นและมีแนวทาง
                                                                การด�าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม กล่าวคือ มีการก�าหนด

            ๒.๓.๒ ลักษณะของสิทธิ และการด�เนินมาตรการ            ให้บรรลุเป้าหมายอย่างเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เช่น มีแผน
            และการบริหารจัดการด้านสิทธิมนุษยชนให้เป็นจริง       การปฏิบัติงาน ระยะเวลา ก�าลังบุคลากร ผู้รับผิดชอบ
            จ�แนกเป็น                                           และการติดตามผลการปฏิบัติอย่างแท้จริง มีการจัดสรร
            ๑) สิทธิแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด (non-derogable rights)    ทรัพยากรอย่างเพียงพอ/เหมาะสม (maximum available

            ซึ่งมิอาจเพิกถอนหรือลิดรอนได้ ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใด   resources) และในการด�าเนินการตามแผนงานดังกล่าว
            ก็ตาม เช่น สิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ สิทธิที่จะไม่ถูกทรมาน และ  ต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งความแตกต่าง
            ในกรณีที่เป็นสิทธิที่รัฐอาจจ�ากัด หรือเพิกถอนได้ชั่วคราว    ที่ต้องห้ามตามหลักการสิทธิมนุษยชน
            (derogable rights) ในบางสถานการณ์ที่กฎหมาย

            สิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศยินยอมให้รัฐกระท�าได้      ๒.๓.๓ ความผูกพันทางกฎหมาย และหน้าที่ของภาค
            เพื่อวัตถุประสงค์บางประการ ได้แก่ ความมั่นคงของชาติ   ส่วนต่าง ๆ ที่เก่ี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน จ�แนกเป็น
            ความสงบเรียบร้อย การสาธารณสุข หรือเพ่ื่อศีลธรรม ซึ่งเป็น   รัฐ ในฐานะผู้ปฏิบัติหน้าที่ (duty-bearer) ในการส่งเสริม
            หลักการที่ปรากฏในข้อ ๔ ของกติกา ICCPR ทั้งนี้ รัฐต้อง   และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของบุคคลที่อยู่ในเขตอ�านาจรัฐ

            ด�าเนินการตามแนวทางที่เป็นที่ยอมรับตามกฎหมาย        (jurisdiction) มีหน้าที่ใน ๓ ด้าน คือ
            ระหว่างประเทศ เช่น มีการบัญญัติไว้เป็นกฎหมายที่ชัดเจน


             หน้าที่ในการเคารพ         รัฐต้องไม่แทรกแซงการใช้สิทธิของประชาชน และไม่กระท�าการ หรือละเว้นการกระท�าใด ๆ

             (Obligation to respect)   ที่เป็นการกระท�าละเมิดสิทธิมนุษยชน

             หน้าที่ในการคุ้มครอง      รัฐต้องคุ้มครองมิให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลถูกละเมิดสิทธิจากบุคคลอื่น หรือกลุ่มอื่นใด เช่น
             (Obligation to protect)   ภาคเอกชน โดยรัฐต้องมีมาตรการดูแลไม่ให้เกิดการละเมิดสิทธิ แต่หากเกิดการละเมิด
                                       รัฐต้องเข้ามาดูแลให้การคุ้มครอง


             หน้าที่ในการท�าให้สิทธิ  รัฐต้องมีมาตรการในการท�าให้สิทธิที่ได้รับการรับรองเกิดผลจริง เช่น การก�าหนดกรอบ
             เกิดผลในทางปฏิบัติในการจัดท�า   กฎหมาย นโยบาย และการด�าเนินการต่าง ๆ ที่ท�าให้ประชาชนได้รับรู้ถึงสิทธิดังกล่าว
             อ�านวยการให้เกิดขึ้นจริง   การประกันให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้สิทธิและเสรีภาพที่ได้รับการรับรองในกฎหมาย
             (Obligation to fulfill)    ภายในและตามพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน








                                                                                                               43
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49