Page 43 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 43
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๔ การหยุดพักผ่อนประจ�าสัปดาห์ในงานอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๔๖๔ (๑๙๒๑)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๙ การปฏิบัติโดยเท่าเทียมกันในเรื่องค่าทดแทนส�าหรับคนงานในชาติและคนต่างชาติ พ.ศ. ๒๔๖๘ (๑๙๒๕)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๒๙ การเกณฑ์แรงงาน หรือแรงงานบังคับ พ.ศ. ๒๔๗๓ (๑๙๓๐)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๐ การแก้ไขบางส่วนของอนุสัญญา พ.ศ. ๒๔๘๙ (๑๙๔๖)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๘ การจัดตั้งบริหารจัดหางาน พ.ศ. ๒๔๙๑ (๑๙๔๘)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๐๐ ค่าตอบแทนที่เท่ากัน พ.ศ. ๒๔๙๔ (๑๙๕๑)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๐๔ การเลิกบังคับทางอาญาแก่กรรมกรพื้นเมืองที่ละเมิดสัญญาจ้าง พ.ศ. ๒๔๙๘ (๑๙๕๕)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๐๕ การยกเลิกแรงงานบังคับ พ.ศ. ๒๕๐๐ (๑๙๕๗)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๑๖ การแก้ไขบางส่วนของอนุสัญญา พ.ศ. ๒๕๐๔ (๑๙๖๑)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๒๒ นโยบายการท�างาน พ.ศ. ๒๕๐๗ (๑๙๖๔)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๒๓ อายุขั้นต�่าที่อนุญาตให้ท�างานในเหมืองใต้ดิน พ.ศ. ๒๕๐๘ (๑๙๖๕)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๒๗ น�้าหนักสูงสุดที่อนุญาตให้คนงานคนหนึ่งแบกหามได้ พ.ศ. ๒๕๑๐ (๑๙๖๗)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๓๘ อายุขั้นต�่าที่อนุญาตให้จ้างงานได้ พ.ศ. ๒๕๑๖ (๑๙๗๓)
อนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๑๘๒ การห้ามและการด�าเนินการโดยทันทีเพื่อขจัดรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก
พ.ศ. ๒๕๔๒ (๑๙๙๙)
นอกเหนือจากสนธิสัญญาหลัก พิธีสารเลือกรับ และ ๒.๓ หลักการส�คัญด้านสิทธิมนุษยชน
อนุสัญญา ILO แล้ว ยังมีตราสารระหว่างประเทศที่จัดท�าขึ้น ๒.๓.๑ หลักการส�คัญเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ในกรอบสหประชาชาติอีกจ�านวนมากที่วางแนวปฏิบัติ ประกอบด้วย
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในด้านต่าง ๆ ๑) หลักความเสมอภาค (equality) และการไม่เลือกปฏิบัติ
ที่มีการน�ามาใช้อ้างอิงในการพิจารณาการด�าเนินการ (non-discrimination) หลักการดังกล่าวมีท่ี่มาจากปฏิญญา
ของรัฐด้านสิทธิมนุษยชนแม้ว่าตราสารดังกล่าวจะไม่ได้มีผล สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนที่กล่าวว่ามนุษย์ทุกคนเกิดมา
ผูกพันทางกฎหมายเช่นเดียวกับสนธิสัญญา แต่ก็เป็นสิ่งที่ มีอิสระและเท่าเทียมกันในศักดิ์และสิทธิ และควรได้รับ
ประเทศไทยควรน�ามาพิจารณาด�าเนินการตามที่เหมาะสม สิทธิต่าง ๆ ที่ได้รับรองในปฏิญญาฯ โดยไม่มีความแตกต่าง
กับบริบทของประเทศไทย ตราสารเหล่านี้มีชื่อเรียก ใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างทางเชื้อชาติ เพศ ภาษา
แตกต่างกันไป เช่น ปฏิญญา (declaration) แนวทาง ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมืองหรือความคิดเห็นอื่น
(guidelines) หลักการชี้แนะ (guiding principles) เผ่าพันธ์ุแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สิน ก�าเนิด หรือสถานะอ่ื่น ๆ
ข้อก�าหนดมาตรฐาน (standard rules) เป็นต้น นอกจากนี้
ไทยยังต้องปฏิบัติตามค�ามั่น (pledge) ที่ให้ไว้ต่อ ๒) หลักความเชื่อมโยง (interdependence) และการแบ่งแยก
ประชาคมระหว่างประเทศ เช่น ในกระบวนการทบทวน มิได้ (indivisibility) ของสิทธิมนุษยชน หมายถึงสิทธิแต่ละ
สถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review: ประเภทไม่ว่าจะเป็นสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
UPR) ด้วย หรือสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ต่างมี
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันไม่สามารถแยกจากกันได้ การได้รับ
หรือไม่ได้รับสิทธิประเภทหนึ่ง ย่อมมีผลต่อสิทธิอีกประเภทหนึ่ง
สิทธิต่าง ๆ จึงควรได้รับการส่งเสริมควบคู่กันไป
หลักการดังกล่าวปรากฏในปฏิญญาว่าด้วยสิทธิ
42