Page 42 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 42
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
Punishment: CAT) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย ของคณะกรรมการประจ�าอนุสัญญาฯ ในการรับและ
เมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ พิจารณาข้อร้องเรียนในกรณีที่มีการละเมิดพันธกรณี
ภายใต้อนุสัญญาฯ โดยผู้ร้องเรียนอาจเป็นบุคคลหรือ
๗) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (Convention on กลุ่มบุคคลในนามผู้ถูกละเมิดสิทธิก็ได้ ประเทศไทยได้
the Rights of Persons with Disabilities: CRPD) มีผล ให้สัตยาบันพิธีสารฉบับนี้เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๓
ใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๑ บทน�
๒) พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กว่าด้วย
ส่วนสนธิสัญญาอีก ๒ ฉบับที่ประเทศไทยยังมิได้เข้าเป็น การขายเด็ก โสเภณีเด็กและสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก
ภาคี ได้แก่ อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคน (Optional Protocol to the Convention on the
จากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ (Convention for Rights of the Child on the Sale of Children, Child
the Protection of All Persons from Enforced Prostitution and Child Pornography : OP-SC)
Disappearance: CPED) และอนุสัญญาว่าด้วย ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีพิธีสารดังกล่าว
การคุ้มครองสิทธิของแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานและสมาชิก ด้วยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๔๙
ในครอบครัว (Convention on the Protection of the
Rights of All Migrant Workers and Members of ๓) พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กว่าด้วย
Their Families : ICRMW) อย่างไรก็ตาม ประเทศไทย สภาวะความขัดแย้งที่มีการใช้อาวุธ (Optional Protocol
ได้แสดงเจตนารมณ์ที่จะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา CPED to the Convention on the Rights of the Child on
โดยได้ลงนามอนุสัญญาฯ เม่ื่อวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๕ และ the Involvement of Children in Armed Conflict
ครม. และ สนช. ได้มีมติเป็นชอบในหลักการให้ประเทศไทย : OP-AC) ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีพิธีสารฉบับนี้
ให้สัตยาบันอนุสัญญาดังกล่าวเมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ด้วยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
และเม่ื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๐ ตามล�าดับ
ปัจจุบันอยู่ระหว่างการด�าเนินการปรับปรุงกฎหมายภายใน ๔) พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กว่าด้วย
ให้สอดคล้องกับอนุสัญญาฯ ก่อนด�าเนินการให้สัตยาบันต่อไป กระบวนการรับเรื่องร้องเรียน (Optional Protocol to
ส่วนอนุสัญญา ICRMW ประเทศไทยยังมิได้เข้าเป็นภาคี the Convention on the Rights of the Child on a
Communications Procedure : OP3) ประเทศไทยได้
๒.๒.๒ พิธีสารเลือกรับของสนธิสัญญาหลัก ให้สัตยาบันพิธีสารฉบับนี้เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕
ด้านสิทธิมนุษยชน
นอกจากสนธิสัญญาหลัก ๗ ฉบับข้างต้นแล้ว ประเทศไทย ๕) พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ
ได้เข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับ (Optional Protocol) (Optional Protocol to the Convention on the
ของสนธิสัญญาข้างต้นบางฉบับ ซึ่งมีเนื้อหาขยาย Rights of Persons with Disabilities : OP- CRPD)
ขอบเขตการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในสนธิสัญญาหลัก ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีพิธีสารฉบับนี้
ฉบับนั้น ๆ ให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น ปัจจุบัน ประเทศไทย ด้วยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๙
เป็นภาคีพิธีสารเลือกรับรวม ๕ ฉบับ ได้แก่
๒.๒.๓ อนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
๑) พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยการขจัด นอกจากสนธิสัญญาหลักและพิธีสารข้างต้นแล้ว
การเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Optional Protocol to ประเทศไทยยังเป็นภาคีอนุสัญญาที่จัดท�าขึ้น
the Convention on the Elimination of All โดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International
Forms of Discrimination Against Women : Labour Organization: ILO) เพื่อส่งเสริมและคุ้มครอง
๒
OP-CEDAW) ซึ่งมีสาระส�าคัญเกี่ยวกับการยอมรับอ�านาจ สิทธิแรงงานในด้านต่าง ๆ จ�านวน ๑๔ ฉบับ ได้แก่
๒ มีสถานะเป็นทบวงช�านัญพิเศษแห่งสหประชาชาติ (specialized agency) โดยมีหน้าที่หลักในการส่งเสริม การปรับปรุงสภาพชีวิตของผู้ใช้แรงงาน ผ่านการก�าหนด ติดตาม
และก�ากับมาตรฐานในด้านการจ้างงาน ค่าจ้าง ระยะเวลาการ ปฏิบัติงาน การประกันสังคม และอื่น ๆ. 41