Page 40 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 40

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



                                    • เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ (มาตรา ๔๔)
                                    • เสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมือง (มาตรา ๔๕)
                                    • สิทธิของผู้บริโภค (มาตรา ๔๖)
                                    • สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุข (มาตรา ๔๗)
                                    • สิทธิของมารดา (ก่อนและหลังคลอดบุตร) สิทธิของบุคคลที่อายุเกิน ๖๐ ปี และบุคคลยากไร้
                                     (มาตรา ๔๘)
                                    • การห้ามใช้สิทธิและเสรีภาพในการล้มล้างระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์      บทน�
                                     ทรงเป็นประมุข (มาตรา ๔๙)
             หมวดที่ ๕ หน้าท่ี่ของรัฐ  • การใดที่รัฐธรรมนูญบัญญัติให้เป็นหน้าที่และรัฐ  ถ้าเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน
             (มาตรา ๕๑-๖๓)           เป็นสิทธิของประชาชนและชุมชนที่จะติดตามและเร่งรัดให้รัฐด�าเนินการ  รวมทั้ง
                                     ฟ้องร้องหน่วยงานเพื่อจัดให้ประชาชนหรือชุมชนได้รับประโยชน์นั้น  ๆ (มาตรา ๕๑)
                                     [เชื่อมโยงกับมาตรา ๔๑ และ ๔๓]
                                    • การจัดการศึกษาภาคบังคับแบบให้เปล่า ๑๒ ปี (มาตรา๕๔)
                                    • การบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและมีมาตรฐานสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (มาตรา ๕๕)
                                    • การจัดท�าสาธารณูปโภคพื้นฐาน (มาตรา ๕๖)
                                    • การรักษาดูแลจารีตท้องถิ่นอันดีงาม การจัดการบ�ารุง ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ
                                     สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน และการส่งเสริมให้บุคคล และ
                                     ชุมชนมีส่วนร่วม และได้รับประโยชน์ (มาตรา ๕๗) [เชื่อมโยงกับมาตรา ๔๓]
                                    • การด�าเนินการใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตให้ผู้ใดด�าเนินการ ถ้าการนั้นอาจมีผลกระทบ
                                     ต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิตของประชาชนหรือชุมชนหรือ
                                     สิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง รัฐต้องด�าเนินการให้มีการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม
                                     และสุขภาพ และจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและประชาชนและชุมชน
                                     เพื่อน�ามาประกอบการพิจารณา ในการด�าเนินการหรืออนุญาต รัฐต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด
                                     และต้องด�าเนินการให้มีการเยียวยา ผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรมโดยไม่ชักช้า (มาตรา ๕๘)
                                    • การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานรัฐ (มาตรา ๕๙)
                                    • การรักษาทรัพยากรคลื่นความถี่ (มาตรา ๖๐)
                                    • การก�าหนดมาตรการและกลไกในการคุ้มครองผู้บริโภค (มาตรา ๖๑)

             หมวดที่ ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ   • การตรากฎหมายและนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน (มาตรา ๖๔)
             (มาตรา ๖๔- ๗๘)         •  รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาล โดย
                                     การจัดท�าต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (มาตรา ๖๕)
                                    •  การสร้างสัมพันธภาพกับนานาชาติโดยยึดหลักความเสมอภาคและคุ้มครองประโยชน์ของชาติ (มาตรา ๖๖)
                                    • การอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น (มาตรา ๖๗)
                                    • การบริหารกระบวนการยุติธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ประชาชนเข้าถึง
                                     ได้สะดวก รวดเร็ว ไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร คุ้มครองเจ้าหน้าที่มิให้แทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่
                                     และการช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ผู้ยากไร้/ด้อยโอกาส (มาตรา ๖๘)
                                    • การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและศิลปะวิทยาการเพื่อความเข้มแข็ง
                                     ของสังคม และเสริมสร้างความสามารถของคนในชาติ (มาตรา ๖๙)
                                    • การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ (มาตรา ๗๐)
                                    • การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว การมีที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม ดูแลสุขภาพ ส่งเสริมและ
                                     พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นพลเมืองที่ดี การช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้
                                     และผู้ด้อยโอกาส ในการจัดสรรงบประมาณต้องค�านึงถึงความจ�าเป็นและความต้องการที่แตกต่างกัน
                                     ของเพศ วัย และสภาพของบุคคลเพื่อความเป็นธรรม (มาตรา ๗๑)





                                                                                                               39
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45