Page 41 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 41
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
หมวดที่ ๖ แนวนโยบาย • การด�าเนินการเกี่ยวกับทรัพยากรที่ดิน น�้า พลังงานอย่างเหมาะสม ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ
แห่งรัฐ (มาตรา ๖๔- ๗๘) สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน การกระจายการถือครองอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
เพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน (มาตรา ๗๒)
• การจัดท�ามาตรการ/กลไกช่วยให้เกษตรกรประกอบการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ มีผลผลิตสูง
ปลอดภัย ใช้ต้นทุนต�่า แข่งขันได้ การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ยากไร้ (โดยการปฏิรูปที่ดิน และอื่น ๆ)
(มาตรา ๗๓)
• การจัดการระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึง
เป็นธรรม ยั่งยืน พึ่งตนเองได้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (มาตรา ๗๕)
• การพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินตามหลักกิจการบ้านเมืองที่ดี การจัดท�าบริการสาธารณะ
การใช้จ่ายงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด การพัฒนาเจ้าหน้าที่รัฐให้ซื่อสัตย์ สุจริต มีทัศนคติ
บริการประชาชนให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
(มาตรา ๗๖)
• การดูแลให้มีกฎหมายที่จ�าเป็นและยกเลิก ปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจ�าเป็น หรือไม่สอดคล้อง
กับสภาพการณ์ การรับฟังความคิดเห็นก่อนการตรากฎหมาย การเปิดเผยผลการรับฟัง และน�าผล
มาพิจารณาร่วม (มาตรา ๗๗)
• การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ การจัดท�าบริการ
สาธารณะในทุกระดับ การตรวจสอบการใช้อ�านาจรัฐ การต่อต้านการทุจริต และประพฤติมิชอบ
และการตัดสินใจทางการเมืองและอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อประชาชนหรือชุมชน (มาตรา ๗๘)
๒.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ ๓) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
ด้านสิทธิมนุษยชนกับประเทศไทย ทางการเมือง (International Covenant on Civil and
๒.๒.๑ สนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน Political Rights : ICCPR) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย
ประเทศไทยเป็นภาคีสนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๐
ที่จัดท�าในกรอบสหประชาชาติหลายฉบับ ไทยจึงมี
พันธกรณีที่จะต้องส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ๔) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ
ต่าง ๆ ที่ได้รับการรับรองในสนธิสัญญาฉบับนั้น ๆ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on
ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาหลัก Economic, Social and Cultural Rights : ICESCR)
ด้านสิทธิมนุษยชนจ�านวน ๗ ฉบับ จากทั้งหมด ๙ ฉบับ ได้แก่ มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เม่ื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒
๑) อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี ๕) อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ
ในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All ในทุกรูปแบบ (International Convention on the
Forms of Discrimination Against Women : CEDAW) Elimination of All Forms of Racial Discrimination:
มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อ วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๘ ICERD) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
๒) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on
the Rights of the Child : CRC) มีผลใช้บังคับ ๖) อนุสัญญาว่าด้วยการต่อต้านการทรมานและการประติบัติ
กับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๕ หรือการลงโทษอื่นท่ี่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือท่ี่ย�่ายี
ศักดิ์ศรี (Convention Against Torture and Other
Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or
40