Page 120 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 120

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            สนับสนุนการด�าเนินงานด้านเด็กให้แก่องค์กรภาคเอกชน
            ที่ขาดแหล่งทุนในการท�างาน และท�าหน้าที่เป็นแหล่งทุน
            เสริมส�าหรับหน่วยงานภาครัฐในกรณีที่ไม่ได้รับการจัดสรร
            งบประมาณหรือได้รับแต่ไม่เพียงพอเพื่อให้เกิดความคล่องตัว



            ๓.  การคุ้มครองสิทธิเด็กในกระบวนการยุติธรรม
            ทางอาญา กรณีการห้ามเปิดเผยประวัติอาชญากรรม
            ของเด็กและเยาวชน พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและ

            ครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.
            ๒๕๕๓ มาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง ได้ก�าหนดไว้อย่างชัดเจนว่า
            ห้ามมิให้เปิดเผยหรือน�าประวัติการกระท�าความผิดอาญา
            ของเด็กหรือเยาวชนไปพิจารณาให้เป็นผลร้ายหรือเป็น

            การเลือกปฏิบัติอันไม่เป็นธรรมแก่เด็กหรือเยาวชนไม่ว่าทางใด
            เว้นแต่เป็นการใช้ประกอบดุลพินิจของศาลเพื่อก�าหนด
            วิธีการส�าหรับเด็กและเยาวชน แต่ที่ผ่านมาพบว่า ในทาง
            ปฏิบัติยังไม่มีกระบวนการด�าเนินการมิให้หน่วยงานของ  ๔. การป้องกันและแก้ไขปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ ได้มี    บทที่ ๔

            รัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบท�าการเปิดเผยประวัติการกระท�าผิด   การออกกฎกระทรวงก�าหนดประเภทของสถานศึกษา
            ทางอาญาของเด็กและเยาวชน  ประกอบกับ  กสม.            และการด�าเนินการของสถานศึกษาในการด�าเนินการ
            เคยได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีมีการเปิดเผยประวัติการกระท�าผิด   ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๖๑
            อาญาของเด็กและเยาวชน ซึ่งส่งผลให้เด็กและเยาวชน      เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๑ ก�าหนดประเภทของสถาน

            รายนั้นไม่ได้รับการจ้างงานจากนายจ้าง จึงเป็นการปฏิบัติ  ศึกษาและมาตรการที่สถานศึกษานั้นต้องด�าเนินการตาม
            ที่ไม่สอดคล้องกับบทบัญญัติของกฎหมายข้างต้น รวมถึง   พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
            ไม่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองสิทธิเด็ก        พ.ศ. ๒๕๕๙ ทั้งการจัดการเรียนรู้เรื่องเพศที่ครอบคลุมมิติ
            พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๒ ที่ก�าหนดให้การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่า  ด้านสุขภาพและทักษะการใช้ชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัยของ

            ในกรณีใด ต้องค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นส�าคัญ    นักเรียน พัฒนาผู้สอนให้มีความรู้และทักษะในการสอน   การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
            กสม. จึงได้มีการจัดท�าข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง   รวมถึงสามารถให้ค�าปรึกษาในเรื่องการป้องกันและแก้ไข
            ในการปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อ     ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแก่นักเรียนนักศึกษา และการจัด
            มิให้มีการเปิดเผยประวัติการกระท�าผิดทางอาญาของเด็ก  ให้มีระบบคุ้มครอง ดูแลและช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษาที่

            และเยาวชน ซึ่งต่อมา ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติได้แจ้งผล  ตั้งครรภ์เพื่อให้สามารถได้รับการศึกษาต่อไปได้
            การด�าเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าวว่า เมื่อวันที่ ๑๗
            สิงหาคม ๒๕๖๑ ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ได้ออกระเบียบ   นอกจากนี้ ยังมีร่างกฎหมายและนโยบายที่อยู่ระหว่าง
            ว่าด้วยประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี        การด�าเนินการ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติการปฐมวัยแห่งชาติ

            ลักษณะที่  ๓๒  การพิมพ์ลายนิ้วมือ  (ฉบับที่  ๔)     พ.ศ. .... และร่างนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านเด็ก
            พ.ศ. ๒๕๖๑ ห้ามมิให้เปิดเผยข้อมูลประวัติอาชญากรที่คัดแยก   ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
            ออกจากสารบบไปแล้วตามที่มีกฎหมายก�าหนดไว้
            เป็นการเฉพาะ เช่น กฎหมายว่าด้วยศาลเยาวชนและครอบครัวและ   อย่างไรก็ดี ตามความเห็นของคณะกรรมการประจ�าอนุสัญญา

            วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว กฎหมายว่าด้วย       ว่าด้วยสิทธิเด็กต่อสถานการณ์เด็กในประเทศไทย ในปี
            การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด เป็นต้น             ๒๕๖๑ ยังมีสถานการณ์ที่น่าห่วงกังวลหลายประการ คือ





                                                                                                              119
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125