Page 119 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 119
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๔.๑ สิทธิเด็ก
ภาพรวม
ประเทศไทยมีประชากรเด็ก (อายุ ๐ - ๑๗ ปี) จ�านวน การคุ้มครองเด็กเคลื่อนย้ายและเด็กที่เป็นบุตรของแรงงาน
๑๓,๗๓๐,๙๒๗ คน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โยกย้ายถิ่นฐาน และการพัฒนาระบบการเก็บข้อมูล
๒๐๒
พุทธศักราช ๒๕๖๐ และอนุสัญญา CRC ได้ให้การรับรอง ที่ครอบคลุมและสามารถใช้ในการวิเคราะห์ประเมิน
และประกันสิทธิของเด็กที่เน้นหลักพื้นฐาน ๔ ประการ ความก้าวหน้าของงานสิทธิเด็ก เป็นต้น ในปี ๒๕๖๑ รัฐบาลได้
ได้แก่ (๑) การห้ามเลือกปฏิบัติต่อเด็กและการให้ ออกกฎหมาย นโยบาย มาตรการ และการด�าเนินการต่าง ๆ
ความส�าคัญแก่เด็กทุกคนอย่างเท่าเทียม โดยไม่ค�านึงถึง ที่ส่งเสริมคุ้มครองสิทธิเด็กหลายประการดังนี้
ความแตกต่างของเด็กในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา
ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง ชาติพันธุ์ สังคมทรัพย์สิน ๑. พระราชบัญญัติการบริหารการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็กและ
ความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะอื่น ๆ ของเด็ก หรือ เยาวชนที่กระท�าผิด พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐบาลได้ตรากฎหมาย
บิดามารดา หรือผู้ปกครองทางกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อให้เด็ก ดังกล่าวขึ้นเพื่อเป็นกลไกในการบริหารแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็ก
มีโอกาสที่เท่าเทียมกัน (๒) การกระท�าหรือการด�าเนินการ และเยาวชนในเชิงบูรณาการ โดยให้มีคณะกรรมการการ
ทั้งหลายต้องค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นอันดับแรก บริหารการแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระท�าผิด
(๓) สิทธิในการมีชีวิต การอยู่รอด และการพัฒนาทางด้าน ตลอดจนก�าหนดสิทธิ หน้าที่ และประโยชน์ที่เด็กและ
จิตใจ อารมณ์ สังคม และ (๔) สิทธิในการแสดงความ เยาวชนควรได้รับในระหว่างการควบคุมดูแลของสถาน
คิดเห็นของเด็ก และการรับฟังความคิดเห็นของเด็ก ที่ผ่าน พินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน การจ�าแนกประเภทเด็ก
มาคณะกรรมการประจ�าอนุสัญญา CRC มีข้อห่วงกังวลและ และเยาวชน การก�าหนดมาตรฐานการด�าเนินงานของ
ข้อเสนอแนะต่อสถานการณ์เด็กในประเทศไทยในเรื่องต่าง ๆ เจ้าพนักงานพินิจและสถานที่ควบคุม การเตรียมความ
อาทิ จ�านวนของเด็กที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับแอลกอฮอล์และ พร้อมก่อนปล่อย และการก�าหนดให้มีระบบสงเคราะห์
ยาเสพติด การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ ช่วยเหลือและติดตามภายหลังปล่อยจากสถานที่ควบคุม รวมทั้ง
ในเด็ก การคุ้มครองเด็กจากความรุนแรงในทุกรูปแบบ จัดให้มีความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับเอกชน
การปกป้องคุ้มครองเด็กจากการแสวงหาประโยชน์ทางเพศ เพื่อให้การแก้ไขบ�าบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนเป็นไป
การมีมาตรการที่เหมาะสมต่อเด็กในกระบวนการยุติธรรม อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๒. แผนแม่บทสารสนเทศกองทุนคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๖๑-
๒๕๖๔ รัฐบาลจัดท�าแผนแม่บทฯ ขึ้นเพื่อให้การด�าเนินงาน
ของกองทุนคุ้มครองเด็กมีทิศทางและเป้าหมายที่สนองตอบ
ต่อสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กที่จะน�าไปสู่การ
คุ้มครองเด็กในเชิงระบบ ทั้งนี้ กองทุนคุ้มครองเด็กจัดตั้ง
ขึ้นตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด
๘ มาตรา ๖๘ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนใช้จ่าย
ในการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพและส่งเสริม
ความประพฤติเด็ก รวมทั้งครอบครัวและครอบครัวอุปถัมภ์
โดยการท�าหน้าที่เป็นแหล่งทุนในการให้ความช่วยเหลือเด็กและ
ครอบครัวที่ประสบปัญหาความเดือดร้อน รวมถึงเป็นหน่วย
๒๐๒ จาก สถิติประชากรและบ้าน – จ�านวนประชากรแยกรายอายุ, โดย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/
upstat_age_disp.php
118