Page 76 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 76

52


                       จากสภาพปัญหาและข๎อเท็จจริงดังกลําวข๎างต๎น จะได๎น าไปวิเคราะห๑ตามประเด็นตํางๆ ที่เกี่ยวข๎องใน

               บทที่ 4 ตํอไป นอกจากนี้ยังมีข๎อพิจารณาวํา ผู๎ร๎องที่เห็นวําตนเองไมํได๎รับความเป็นธรรมในมิติตํางๆ มักอ๎างวํา
               “ถูกเลือกปฏิบัติ”  จึงน าไปสูํการวิเคราะห๑ตํอไปในบทที่ 4 วํา กรณีข๎อเท็จจริงเหลํานี้เป็นการ “เลือกปฏิบัติ”

               ตามกรอบของกฎหมายสิทธิมนุษยชนหรือไมํ อยํางไร


                2.2 ข้อเท็จจริงและสภาพปัญหาการเลือกปฏิบัติจากการรับฟังความคิดเห็น /การสัมภาษณ์ /การจัด

               ประชุมกลุ่มย่อย


                       ในหัวข๎อนี้ จะได๎ชี้ให๎เห็นสภาพปัญหาและข๎อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติในประเด็น

               ตํางๆ จากการรับฟังความคิดเห็น /จากการสัมภาษณ๑เชิงลึก / การประชุมกลุํมยํอย (Focus  Group) ซึ่งอาจ
               สรุปประเด็นปัญหาได๎ดังนี้


                       1)  ปัญหาการถูกคุกคามทางเพศในที่ท างาน

                       จากการสัมภาษณ๑พบปัญหาการคุกคามทางเพศซึ่งเกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติดังนี้

                       - ผู๎ให๎ข๎อมูลกลําววําในที่ท างานมีปัญหาที่ผู๎บังคับบัญชา เสนอจะให๎การเลื่อนต าแหนํง การสนับสนุน
               ความก๎าวหน๎าในงาน เพื่อแลกกับการมีความสัมพันธ๑เป็นพิเศษหรือการลํวงละเมิดทางเพศกับพนักงานหญิง

               การที่พนักงานหญิงนั้นได๎รับผลประโยชน๑หรือความก๎าวหน๎าในการท างานด๎วยเหตุแหํงเพศก็อาจพิจารณาได๎วํา

               เป็นการเลือกปฏิบัติตํอพนักงานเพศอื่น
                       - ผู๎ให๎ข๎อมูลเป็นลูกจ๎างหญิง ถูกเพื่อนรํวมงานในระดับอาวุโส (Senior)  แตํมิได๎มีอ านาจบังคับบัญชา

               โดยตรง ชักชวนให๎เป็นเพื่อนรํวมเครือขํายสังคมออนไลน๑ซึ่งไมํเกี่ยวข๎องกับการท างาน ชักชวนไปเที่ยว เมื่อ
               ปฏิเสธก็มีการไปใสํความกับเพื่อนรํวมงานคนอื่นในทางท าให๎เธอเสื่อมเสียชื่อเสียง

                       - จากการสัมภาษณ๑ผู๎ให๎ข๎อมูลที่เป็นลูกจ๎างภาคเอกชนพบวํา ในกิจการภาคเอกชนหลายแหํงไมํมีแนว
               ปฏิบัติเกี่ยวกับการคุกคามทางเพศในที่ท างาน ไมํปรากฏวํามีข๎อบังคับการท างานในเรื่องดังกลําว อยํางไรก็ตาม

               ลูกจ๎างในกิจการภาคเอกชนบางแหํงซึ่งเป็นบริษัทข๎ามชาติให๎ข๎อมูลวํา บริษัทของตน มีแนวนโยบายเกี่ยวกับ

               การคุกคามทางเพศที่ชัดเจน (Harassment Policy) โดยมีการก าหนดวิธีการร๎องเรียนส าหรับลูกจ๎างตลอดจน
               มีกระบวนการพิจารณาทางวินัยและการไกลํเกลี่ยภายในองค๑กรด๎วย



                       2) การก าหนดให้ระบุข้อมูลบางอย่างในใบสมัครงานซึ่งเกี่ยวข้องกับเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติและ
               การก าหนดคุณสมบัติเฉพาะ (Specification)  หรือคุณสมบัติอันเป็นที่ต้องการพิเศษ (Preference)  ใน

               การประกาศรับสมัครงาน
                       ผู๎ให๎ข๎อมูลแสดงความเห็นวํา “การสมัครงานออนไลน๑ของผู๎ให๎บริการจัดหางาน โดยการกรอก

               แบบฟอร๑มออนไลน๑ มีการระบุให๎กรอกข๎อมูลสํวนตัวบางอยํางที่อาจท าให๎ถูกเลือกปฏิบัติในการตัดสินใจจ๎าง
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81