Page 72 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 72

48


               สอบสวนคดีพิเศษ และหนังสือพิมพ๑ทุกฉบับและคดีอยูํในระหวํางการพิจารณาและการด าเนินการของพนักงาน

               อัยการจังหวัดนนทบุรี รวมทั้งผู๎ร๎องยังได๎ร๎องเรียนไปยังกองบังคับการปราบปรามด๎วย กรณีร๎องเรียนจึงอยูํใน
               กระบวนการยุติธรรมแล๎ว คณะกรรมการจึงมีมติให๎ยุติเรื่อง (รายงานผลการพิจารณาที่ 506/2557)



                       31) ค าร้องที่ 544/2554 เรื่อง สิทธิเสรีภาพในชีวิตและร่างกายของเด็ก
                       ผู๎ร๎องกับพวกรวม 6 คนได๎ร๎องเรียนตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน

               2554 วํา ผู๎อ านวยการโรงเรียนมัธยมศึกษาแหํงหนึ่งใน จ.สุราษฎร๑ธานี (ในขณะนั้น) มีพฤติกรรมใช๎ความ

               รุนแรงกับนักเรียนและบริหารงานไมํโปรํงใส จึงขอให๎ตรวจสอบ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติพิจารณา
               ค าร๎องแล๎วเห็นวําเป็นประเด็น เกี่ยวกับ เรื่องสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรํางกายอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิเด็ก อัน

               เป็นสิทธิที่ได๎รับความคุ๎มครองไว๎ในรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 จึงเป็นกรณีที่อยูํในอ านาจ
               ของคณะกรรมการฯที่จะสามารถตรวจสอบได๎ โดยอาศัยอ านาจตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ

               มนุษยชนแหํงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 3 และมาตรา 15
                       จากการตรวจสอบข๎อเท็จจริงพบวํากระทรวงศึกษาธิการ โดยส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

               พื้นฐานได๎มอบหมายให๎ผู๎อ านวยการส านักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลายและคณะ ตรวจสอบ

               ข๎อเท็จจริงและเสนอแนวทางแก๎ไขปัญหา และตั้งคณะกรรมการสอบสวน ซึ่งข๎อกลําวหาของผู๎ร๎องไมํเป็นความ
               จริงที่วําคณะกรรมการไมํตรวจสอบข๎อมูลจากผู๎ร๎องและคณะ นอกจากนี้ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

               มัธยมศึกษา เขต 11 ได๎แตํงตั้งคณะกรรมการ 2 ชุดในการตรวจสอบ ซึ่งคณะกรรมการทั้ง 2 ชุดมีความเห็นวํา

               ผู๎ถูกร๎องไมํได๎มีพฤติกรรมสํอไปในทางทุจริต สํวนประเด็นการกลําวหาวําผู๎ถูกร๎องมีพฤติกรรมไมํเหมาะสม เชํน
               การใช๎ถ๎อยค าหยาบคาย การใช๎ความรุนแรงกับนักเรียน เป็นต๎น คณะกรรมการเห็นวําไมํมีหลักฐานวําผู๎ร๎องมี

               พฤติกรรมตามที่กลําวหาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พิจารณาประเด็นค าร๎องแล๎ว เห็นวําตาม
               รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557       มาตรา 4 ประกอบรัฐธรรมนูญแหํง

               ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 วําด๎วยเรื่องสิทธิเสรีภาพในชีวิตและรํางกายอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิเด็กนั้น
               รัฐธรรมนูญได๎รับรองคุ๎มครองวํา บุคคลยํอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรํางกาย การทรมาน ทารุณกรรม

               หรือการลงโทษด๎วยวิธีการโหดร๎ายหรือไร๎มนุษยธรรม จะกระท ามิได๎ แตํการลงโทษตามค าพิพากษาหรือตามที่

               กฎหมายบัญญัติไมํถือวําเป็นการลงโทษด๎วยวิธีโหดร๎าย หรือไร๎มนุษยธรรม และบุคคลยํอมเสมอกันในทาง
               กฎหมายและได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียมกัน ชายหญิงมีสิทธิเทําเทียมกัน การเลือกปฏิบัติ

               เพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายภาพหรือ

               สุขภาพ สถานะบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็น
               ทางการเมืองอันไมํขัดตํอบทบัญญัติรัฐธรรมนูญจะกระท ามิได๎ตามในมาตรา 30 ประกอบพระราชบัญญัติ

               คุ๎มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ได๎รับรองและคุ๎มครองไว๎วําห๎ามมิให๎ผู๎ใดกระท าอันเป็นการทารุณกรรมตํอรํางกาย
               หรือจิตใจเด็ก รวมถึงบังคับ ขูํเข็ญ ชักจูง สํงเสริม หรือยินยอมให๎เด็กประพฤติตนไมํสมควร ท าให๎เด็กมีความ

               ประพฤติเสี่ยงตํอการกระท าผิด
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77