Page 77 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 77

53


               งาน โดยผู๎สมัครไมํสามารถเว๎นวํางไว๎ได๎ หากเว๎นวํางไว๎ระบบจะก าหนดให๎ต๎องกรอกจึงจะผํานไปด าเนินการ

               ขั้นตอนตํอไปได๎”
                       “การสมัครงานโดยการกรอกใบสมัครที่เป็นเอกสาร มีการระบุให๎กรอกข๎อมูลสํวนตัวบางอยําง ที่อาจ

               ท าให๎ถูกเลือกปฏิบัติในการตัดสินใจจ๎างงาน โดยผู๎สมัครไมํสามารถเว๎นวํางไว๎ได๎ หากเว๎นวํางไว๎ก็จะถูก

               เจ๎าหน๎าที่ที่ตรวจรับใบสมัครบอกให๎กรอกให๎ครบ”
                       “ข๎อมูลที่ต๎องให๎ระบุในใบสมัครงานที่ผู๎ให๎ข๎อมูลเห็นวําอาจท าให๎ตนถูกเลือกปฏิบัติ เชํน ศาสนา ความ

               เชื่อ สัญชาติของบิดามารดา สถานะภาพ การสมรส รายได๎ รายได๎ของครอบครัว”

                       “ใบสมัครงานก าหนดให๎ต๎องระบุ ศาสนา เชื้อชาติ สัญชาติ จะสํงผลให๎เกิดการคัดเลือกโดยมีอคติ
               เกี่ยวกับศาสนา เชื้อชาติ แทนที่จะค านึงถึงความสามารถที่เกี่ยวกับงานนั้น”

                       “การกรอกเอกสารของหนํวยราชการที่ให๎ระบุ ศาสนา เชื้อชาติ สัญชาติ เป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํ”
                       “การรับสมัครงานโดยระบุเจาะจง สถาบันการศึกษา เป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํ หากไมํระบุในใบ

               สมัครแตํใช๎เหตุดังกลําวมาเป็นปัจจัยในการคัดเลือกและตัดสินใจจ๎าง จะเป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํ”
                       การประกาศรับสมัครงานบางกรณีมีการก าหนดคุณสมบัติเฉพาะ ซึ่งผู๎ให๎ข๎อมูลเห็นเกี่ยวข๎องกับเหตุ

               แหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน สถาบันการศึกษา เพศ อายุ สภาพภายนอกของรํางกาย น้ าหนัก สํวนสูง

                       กรณีน าเหตุตํางๆ ข๎างต๎นซึ่งเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ โดยไมํประกาศในการรับสมัครแตํใช๎เหตุเหลํานี้
               เป็นเกณฑ๑ในการพิจารณารับเข๎าท างาน



                       3)  ปัญหาการก าหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับ “ประวัติอาชญากรรม”
                       ในประเด็นการบังคับให๎ต๎องไปตรวจสอบลายพิมพ๑นิ้วมือเพื่อตรวจประวัติอาชญากรรมกํอนเข๎าท างาน

               ผู๎ให๎ข๎อมูลตั้งค าถามวํา ประวัติอาชญากรรมมีความส าคัญและจ าเป็นอยํางไรส าหรับการเข๎าท างาน การที่
               บุคคลเคยต๎องโทษและได๎พ๎นโทษแล๎ว ไมํสามารถมีโอกาสกลับตัวเป็นคนดีและประกอบอาชีพสุจริตได๎ อาจเป็น

               การผลักดันให๎ต๎องไปประกอบอาชีพไมํสุจริตอีก
                       ผู๎ให๎ข๎อมูลกลําววํา “บริษัท xxx ก าหนดห๎ามผู๎มีประวัติท าผิดอาญาเข๎าท างาน โดยไมํค านึงวําความผิด

               ที่เคยท านั้นเกี่ยวข๎องกับต าแหนํงงานที่สมัครหรือไมํ”

                       ผู๎ให๎ข๎อมูลยกประเด็นวํา “…สังคมยังคงมีแนวคิดวํา คนมีประวัติอาชญากรรมเป็นคนไมํดี แตํใน
               ปัจจุบัน ประวัติอาชญากรรมอาจเกิดกับคนที่ไมํได๎มีความชั่วร๎ายเหมือนอยํางพวกอาชญากร เชํน ผู๎กระท า

               ความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร๑ ซึ่งท าแคํโพสต๑ข๎อมูลดํากันหรือแชร๑ข๎อมูลที่หมิ่นประมาทคนอื่น ก็มีความผิด

               ติดคุกได๎แล๎ว เพียงแคํนี้ก็กลายเป็นคนมีประวัติติดตัวเสียอนาคตไปหมด ...”


                       4)  ปัญหาการใช้ถ้อยค า การสื่อสาร ที่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ
                       ผู๎ให๎ข๎อมูลถูกล๎อเลียนเกี่ยวกับสภาพรํางกายจากเพื่อนรํวมงาน โดยการล๎อเลียนเกี่ยวกับพฤติกรรม

               การใช๎ชีวิต การรับประทานอาหาร เปรียบเทียบรํางกาย (รูปรํางอ๎วน)  กับสัตว๑ชนิดตํางๆ สํงตัวการ๑ตูน
               สติ๊กเกอร๑รูปสัตว๑อ๎วนมาล๎อเลียน ท าให๎รู๎สึกล าบากใจในการท างาน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82