Page 67 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 67

บทที่ ๒ การประเมินสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ

           แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐








                         ภาพรวม


                         ๑.  หลักการประกันสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญและ
                         สนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน



                               ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

                         มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการวางกรอบและแนวทางการปกครองประเทศ
                         ซึ่งในการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น สิทธิและเสรีภาพของประชาชนเป็นเรื่องส�าคัญ
                         ยิ่ง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยจึงจ�าเป็นต้องมีบทบัญญัติที่วางหลักการประกัน

                         สิทธิและเสรีภาพให้แก่ประชาชน รวมถึงวางหลักเกณฑ์การใช้อ�านาจของรัฐ โดยถือเป็น
                         กฎหมายสูงสุด ซึ่งบทบัญญัติของกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือการกระท�าใด ๆ จะขัด
                         หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมิได้ ทั้งนี้ แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม (constitutionalism)  และ
                                                                                                   ๑๖
                         พัฒนาการในการประกันและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนสะท้อนผ่านบทบัญญัติ
                         ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ทั้ง ๒๐ ฉบับที่ผ่านมา









































           ๑๖  แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยมประกอบด้วยแนวคิดอันเป็นรากฐาน ได้แก่ ทฤษฎีสัญญาประชาคม หลักความเป็นสูงสุดของกฎหมายรัฐธรรมนูญ หลักการแบ่งแยกการใช้อ�านาจอธิปไตยและ
             หลักนิติรัฐ, เครือข่ายกฎหมายมหาชนไทย.รัฐธรรมนูญในแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม (ตอนที่ ๑). สืบค้นจาก http://public-law.net/publaw/view.aspx?id=409

           66 |  รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๐
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72