Page 22 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 22

บทสรุปเชิงผู้บริหาร




                                                                          ในชั้นปล่อยชั่วคราว และโครงการปล่อย
                                                                          ชั่วคราวด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว    บทสรุป
                                                                          (Electronic Monitoring : EM) เพื่อให้
                                                                          ผู้ต้องหา หรือจ�าเลยมีโอกาสได้รับการปล่อย

                                                                          ชั่วคราวมากขึ้น การน�า EM มาใช้กับผู้กระท�า
                                                                          ความผิดในระบบงานคุมประพฤติ
                                                                                อย่างไรก็ตาม  ยังพบสถานการณ์
            น่าห่วงใย ได้แก่ การเสียชีวิตของบุคคลที่อยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงานรัฐ กระบวนการยุติธรรมในสภาวะการใช้

            กฎหมายพิเศษในกรณีของการด�าเนินกระบวนการยุติธรรมตามประกาศ คสช. ฉบับที่ ๓๗/๒๕๕๗ ฉบับที่ ๓๘/๒๕๕๗
            และฉบับที่ ๕๐/๒๕๕๗ ซึ่งส่งผลให้พลเรือนต้องอยู่ในอ�านาจการพิจารณาของศาลทหาร ต่อมาได้มีค�าสั่งหัวหน้า คสช.
            ที่ ๕๕/๒๕๕๙ ให้พลเรือนที่กระท�าความผิดดังกล่าวนับแต่วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๙ อยู่ในอ�านาจการพิจารณาของศาล
            ยุติธรรม ผลจากค�าสั่งดังกล่าวแม้ว่าจะท�าให้การกระท�าความผิดหลังจากวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๙ อยู่ในอ�านาจของศาล

            ยุติธรรม แต่การกระท�าความผิดก่อนวันดังกล่าว พลเรือนยังคงถูกด�าเนินคดีในศาลทหาร ซึ่งคณะกรรมการประจ�ากติกา
            ICCPR ได้มีข้อสังเกตว่าควรใช้มาตรการที่จ�าเป็นเพื่อรับพิจารณาค�าร้องให้ถ่ายโอนคดีจากศาลทหารส�าหรับความผิดที่เกิดขึ้น
            ก่อนวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๙ โดยให้ถ่ายโอนคดีที่ยังพิจารณาไม่เสร็จไปยังศาลพลเรือน และเปิดโอกาสให้จ�าเลยที่เป็น
            พลเรือนในคดีที่ศาลทหารตัดสินแล้วสามารถอุทธรณ์ค�าตัดสินต่อศาลพลเรือนได้



            เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น  เสรีภาพสื่อมวลชน  และเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ
            และปราศจากอาวุธ



                  ภาพรวมในปี ๒๕๖๐ สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญถูกควบคุมโดยการใช้กฎหมายก�ากับ ตรวจสอบ และควบคุม
            อย่างเข้มงวด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
            ในการเอาผิดการกระท�าที่เป็นการน�าเข้าข้อมูลอันเป็นเท็จ เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ และการเอาผิดฐานหมิ่นประมาท
            ซึ่งต่อมารัฐบาลได้แก้ไขและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการด�าเนินการดังกล่าวโดยปรับปรุงและประกาศใช้

            พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยไม่รวมความผิดฐาน
            หมิ่นประมาทเข้าไว้ พร้อมทั้งสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว ในส่วนของเสรีภาพทาง
            วิชาการ  มีการใช้ค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๓/๒๕๕๘ ห้ามการชุมนุมตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป และการบังคับใช้กฎหมายอย่าง
                   ๑
            เคร่งครัดกับผู้ที่ใช้เสรีภาพในลักษณะดังกล่าว

            ในขณะที่มีข้อโต้แย้งในหลายเหตุการณ์ซึ่ง
            ยืนยันว่า การใช้สิทธิและเสรีภาพมิได้เกิน
            ขอบเขตทางกฎหมาย และรัฐธรรมนูญได้
            ให้ความคุ้มครองเสรีภาพทางวิชาการ ส่วน

            เสรีภาพสื่อมวลชน ซึ่งได้รับการรับรองภายใต้
            รัฐธรรมนูญ ก็ถูกจ�ากัดโดยค�าสั่งของ คสช.
            และค�าสั่งหัวหน้า คสช. หลายฉบับ รวมถึง
            การพิจารณาประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติ

            การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพส่งเสริมจริยธรรม

            ๑  ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศถือเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิในการมีความเห็น (right to hold opinions) และสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออก (freedom of expression)
               ซึ่งรวมถึงสิทธิที่จะแสวงหา รับ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและความคิด ซึ่งรัฐสามารถจ�ากัดได้ด้วยเหตุผลตามข้อบทที่ ๑๙ (๓) ของกติกา ICCPR โดยมีเงื่อนไขตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน
               ระหว่างประเทศ.


                                                                                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 21
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27