Page 132 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2560
P. 132

บทที่ ๕ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
                                                                                 ของบุคคล ๖ กลุ่ม



            การโฆษณาผ่านสื่อต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์กลุ่มอาหารส�าหรับทารกและเด็กเล็ก หรือผลิตภัณฑ์นมผงให้เป็นไปอย่างเหมาะสม
            เพื่อให้เด็กทุกคนได้กินนมแม่อย่างเต็มที่ เนื่องจากที่ผ่านมา มีการส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์กลุ่มอาหารส�าหรับทารกและ
            เด็กเล็ก หรือผลิตภัณฑ์นมผงอย่างแพร่หลาย ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจในการเลี้ยงเด็กด้วยนมแม่ รวมถึงเพื่อให้การควบคุม
            การส่งเสริมการตลาดอาหารส�าหรับทารกและเด็กเล็กที่เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล และเป็นการปรับปรุง

            หลักเกณฑ์การควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารส�าหรับทารกและเด็กเล็ก ให้เป็นกฎหมายตามมติของการประชุมสมัชชา
            อนามัยโลกครั้งที่ ๖๓ (WHA 63.23)





























                  นอกจากนี้ ยังมีร่างกฎหมายและนโยบายที่อยู่ระหว่างการด�าเนินการ ได้แก่ ๑) ร่างยุทธศาสตร์คุ้มครองเด็กแห่งชาติ

            พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔ ๒) ร่างนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านเด็กปฐมวัย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ และ ๓) ร่างกฎกระทรวง
            ก�าหนดประเภทของสถานศึกษาและการด�าเนินการของสถานศึกษาในการด�าเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์
            ในวัยรุ่น พ.ศ. ....



            อย่างไรก็ดี ในปี ๒๕๖๐ ยังมีสถานการณ์เด็กที่น่ากังวลหลายประการดังนี้
            ๑. สถานการณ์การเสียชีวิตของเด็กจากการจมน�้า และอุบัติเหตุทางถนน
                  จากข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุจมน�้า และอุบัติเหตุทางถนนปี ๒๕๖๐ พบว่า มีจ�านวนการเสียชีวิตจากการจมน�้า
            ของเด็กอายุต�่ากว่า ๑๘ ปี จ�านวน ๖๙๗ ราย ลดลงเมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๙ ซึ่งมีจ�านวน ๘๑๗ ราย  โดยช่วงปิดเทอม  บทที่
                                                                                             ๑๙๙
                                                                                                                   ๕
            ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม พบว่า มีจ�านวนเด็กเสียชีวิตจากการจมน�้าจ�านวน ๑๒๗ ราย ลดลงเมื่อเทียบกับ
            ปี ๒๕๕๙ มีจ�านวน ๑๙๗ ราย ข้อมูลการเสียชีวิตของเด็กจากอุบัติเหตุบนท้องถนน พบว่าในปี ๒๕๖๐ มีเด็กเสียชีวิต
                                      ๒๐๐
            จากอุบัติเหตุบนท้องถนนจ�านวน ๑,๓๓๓ ราย ลดลงเมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๙ ที่มีจ�านวน ๑,๙๓๒ ราย โดยสาเหตุการเสียชีวิต
            จากอุบัติเหตุทางถนนของเด็กส่วนใหญ่มาจากการขับขี่/โดยสารรถจักรยานยนต์มากที่สุด โดยในปี ๒๕๕๙ มีเด็กเสียชีวิต

            จากการขับขี่/โดยสารรถจักรยานยนต์จ�านวน ๙๑๒ ราย และในปี ๒๕๖๐ จ�านวน ๓๕๒ ราย  ๒๐๑










            ๑๙๙  กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
            ๒๐๐  วอยซ์ ทีวี “เผยปิดเทอมใหญ่ปีนี้มีเด็กจมน�้าเสียชีวิตถึง ๑๒๗ ราย”https://news.voicetv.co.th/thailand/490201.html
            ๒๐๑  กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข


                                                                                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  | 131
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137