Page 79 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง พันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของประชาคมอาเซียน
P. 79

• Closely intertwined and mutually reinforcing
                                          • Concrete actions, Binding Commitments


                  Rules-based Community                                            Single Market and Production Base
                  of Shared Norms and Values



        Cohesive, Peaceful, Stable and Resilient                                      Competitive Economic Region
        Region with shared responsibility for    ASEAN                   ASEAN
        comprehensive security             Security Community      Economic Community


                                                                                      Equitable Economic Development

                                                       ASEAN Community
                                                         (Vision 2015)
          Dynamic and Outward-looking Region
          in an increasingly integrated and
          interdependent world                              ASEAN                  Integration into Global Economy
                                                    Socio-Cultural Community








          Human Development  Social Welfare and Protection  Social Justice and Rights  Ensuring Environmental Sustainability  Building an ASEAN Identity


                            รูปภาพที่ ๕ โครงสร้างพิมพ์เขียวของประชาคมอาเซียน (ประชาคมการเมืองและ

                    ความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม) ตามวิสัยทัศน์อาเซียน ๒๐๑๕
                                     (ที่มา: http://asean.org/resoruce/asean-resources-kit/)



                             เมื่อพิจารณาเนื้อหาของพิมพ์เขียวของประชาคมทั้งสามของอาเซียนแล้ว มีประเด็นในด้านสิทธิ
          มนุษยชน ดังนี้
                             ๑. ประชาคมที่ได้ก�าหนดวิสัยทัศน์และตัวชี้วัดการด�าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนมากที่สุด

          คือ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASCC) ซึ่งมีเป้าหมายการด�าเนินงานสี่ด้านแรก เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนโดยตรง อีกทั้ง
          ยังมีกลไกในการขับเคลื่อนด้านสิทธิมนุษยชนในด้านสิทธิสตรีและเด็กภายใต้ประชาคมโดยตรง คือ คณะกรรมาธิการ ACWC

          อย่างไรก็ตาม ข้อจ�ากัดของ ASCC คือการที่ไม่สามารถก�าหนดให้ประชาคมอื่นมีเป้าหมายด้านสิทธิมนุษยชนที่สอดคล้องกัน
          และส่วนงานในระดับประเทศสมาชิกของ ASCC เป็นหน่วยงานในด้านสังคมสงเคราะห์ (Social Welfare) ซึ่งด�าเนิน
          มาตรการด้านสังคมต่อกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงในการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนจากมุมมองสังคมสงเคราะห์หรือการให้ความ

          ช่วยเหลือ มากกว่าจากแนวความคิดด้านสิทธิมนุษยชนที่ถือว่าปัจเจกบุคคลทุกคนโดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ
          เป็นผู้ทรงสิทธิ (Rights Holder) ที่ต้องได้รับความคุ้มครองจากภาคส่วนต่างๆ ที่เป็นผู้มีหน้าที่ (Duty Bearer) โดยเฉพาะ

          รัฐและองค์กรของรัฐ
                             ๒. ประชาคมเศรษฐกิจ หรือ AEC เป็นองคาพยพที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในประชาคมอาเซียนและใน
          หลายกรณีมักเกิดความสับสนว่าประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งครอบคลุมสามประชาคมย่อยเป็นองค์กร




       78
               ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84