Page 21 - คู่มือประเมินผลด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) ของธุรกิจการโรงแรม
P. 21
ประโยชน์ทางธุรกิจของ HRDD 4
4
ประโยชน์ทางธุรกิจของ HRDD
กระบวนการ HRDD จะช่วยให้บริษัทสามารถ กับแรงกดดันจากภายนอกและเหตุการณ์ไม่คาดฝันเพียง
ออกแบบและปรับปรุงกลยุทธ์ด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัท อย่างเดียว โดยเฉพาะในยุคที่โซเชียลมีเดียและสื่อต่างๆ
ในลักษณะ “เชิงรุก” โดยตั้งอยู่บนความเสี่ยงและโอกาส สามารถเผยแพร่ความกังวลและข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ
อันเป็นผลลัพธ์จากกระบวนการแทนที่จะคอยตั้งรับจัดการ ที่เกิดจากการดำาเนินธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
ตัวอย่างส่วนหนึ่งของบริษัทที่มีจัดทำากระบวนการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนรอบด้าน เมื่อจำาแนกตามประเภท
1
อุตสาหกรรมมีดังนี้ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เช่น บริษัท Nestle (เนสท์เล่) ซึ่งร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชน
เดนมาร์ก ประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ปฏิบัติการ 7 ประเทศ บริษัทโคคา-โคลา จัดทำารายงานประเมิน
2
ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนห่วงโซ่อุปทานน้ำาตาลในประเทศโคลัมเบียและกัวเตมาลา บริษัท Arla Foods ผู้ผลิตอาหาร
จากนมในประเทศเดนมาร์ก ประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไนจีเรียและเซเนกัล อุตสาหกรรมเสื้อผ้า
และอุปกรณ์กีฬา เช่น Adidas อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เช่น บริษัท Kuoni ซึ่งดำาเนินธุรกิจการท่องเที่ยวดำาเนินการในพื้นที่
ปฏิบัติการ 2 แห่ง อุตสาหกรรมเหมืองแร่ เช่น AngloAmerican อุตสาหกรรมสิ่งทอ เช่น GAP, H&M อุตสาหกรรมไอที
เช่น Microsoft ผู้ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภค เช่น Unilever ภาคการเงิน เช่น ธนาคาร Barclays, BBVA, Credit Suisse,
ING Bank, RBS Group, UBS, UniCredit ภาคธุรกิจคมนาคม เช่น Nokia Siemens Networks บริษัทพลังงาน Statoil
ซึ่งดำาเนินธุรกิจพลังงานใน 30 ประเทศ
1 ค้นคว้าข้อมูลและความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับบริษัทที่ดำาเนินการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน รวมทั้งฐานข้อมูลเปรียบเทียบ
การปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทต่างๆ ได้ที่ https://business-humanrights.org/company-action-platform
2 อ่านรายละเอียดกรณีของโคคาโคล่าเพิ่มเติมได้ที่ https://business-humanrights.org/en/coca-cola-publishes-human-rights-due-diligence-
reports-on-sugar-supply-chain-in-colombia-guatemala
19