Page 96 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2559
P. 96
กสม. จึงได้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายดังกล่าวว่า มาตรา ๑๔ (๑) ที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม
ข้างต้นยังคงเปิดช่องให้เกิดการตีความน�าไปใช้กับการหมิ่นประมาทได้ โดยอาจท�าให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนและตีความ
ไปได้ว่า การน�าข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์หรือบนอินเทอร์เน็ตที่ไม่เป็นความจริงและท�าให้ประชาชนทั่วไปสับสนเป็นเจตนา
“โดยหลอกลวง” และอ้างมาตรา ๑๔ (๑) มาใช้ด�าเนินคดีกับการแสดงความคิดเห็นต่อไปอีก ซึ่งการตีความลักษณะนี้อาจ
เป็นการขัดแย้งต่อเจตนารมณ์ของกฎหมาย รวมทั้งไม่สอดคล้องตามหลักการในมาตรา ๗ ของอนุสัญญาว่าด้วยอาชญากรรม
ทางคอมพิวเตอร์ของสภาแห่งยุโรป ที่ก�าหนดให้การกระท�าความผิดเกี่ยวกับการน�าข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์นั้น
มุ่งเน้นเฉพาะความผิดเกี่ยวกับ “ข้อมูลปลอม” โดยไม่ได้มีแนวคิดเรื่อง “ข้อมูลเท็จ”แต่อย่างใด ส่วนการแก้ไขมาตรา ๑๔ (๒)
ซึ่งได้ก�าหนดความผิดส�าหรับการน�าเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ ๔ ลักษณะ คือ (๑) น่าจะเกิดความเสียหายต่อการรักษา
ความมั่นคงของประเทศ (๒) น่าจะเกิดความเสียหายต่อความปลอดภัยสาธารณะ (๓) น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคง
ในทางเศรษฐกิจของประเทศ และ (๔) น่าจะก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชนเห็นว่า การที่ถ้อยค�าทั้ง ๔ ลักษณะข้างต้น
เป็นถ้อยค�าที่มีความหมายกว้างขวาง ไม่มีค�านิยามที่ชัดเจน ไม่มีกรอบหรือหลักเกณฑ์ชัดเจนในการพิจารณาว่าการกระท�า
ลักษณะใดที่อาจขัดกับเจตนารมณ์ของกฎหมายและถือว่าเป็นความผิด อาจก่อให้เกิดการตีความที่เกินเลยและใช้อ�านาจ
แทรกแซงการแสดงความคิดเห็นและโอกาสในการรับทราบข้อมูลข่าวสารในระบบคอมพิวเตอร์เกินความจ�าเป็น อันเป็นการ
ไม่สอดคล้องกับหลักการของ ICCPR ข้อ ๑๙ และหลักการในรัฐธรรมนูญที่ให้การรับรองและก�าหนดขอบเขตการจ�ากัดสิทธินั้น
๓) เสรีภาพของสื่อมวลชน
ในปี ๒๕๕๙ พบว่า เสรีภาพของสื่อมวลชนแม้มีสิทธิและเสรีภาพ
ในการแสดงคิดเห็นและข้อมูลข่าวสาร แต่ก็ถูกจ�ากัดภายใต้ คสช. ที่ ๙๗/๒๕๕๗
และประกาศ คสช. ที่ ๑๐๓/๒๕๕๗ และเพิ่มอ�านาจแก่คณะกรรมการ
กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
(กสทช.) และหน่วยงานดังกล่าวตามค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๔๑/๒๕๕๙ เมื่อ
วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ลงโทษสถานีโทรทัศน์ฝ่าฝืนประกาศ คสช.
ที่ ๙๗/๒๕๕๗ และประกาศ คสช. ที่ ๑๐๓/๒๕๕๗ ซึ่งต่อมา คณะกรรมการ สถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
กิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) มีมติสั่งพักใช้ใบอนุญาต
สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่องพีซทีวีเป็นเวลา ๓๐ วัน ตั้งแต่วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๙ เนื่องจากฝ่าฝืน
ประกาศ คสช. ฉบับที่ ๙๗/๒๕๕๗ ตามข้อ ๓ (๕) ที่ระบุห้ามน�าเสนอเนื้อหาที่เป็นข้อมูลข่าวสารที่ส่อให้เกิดความ
สับสน ยั่วยุ ปลุกปั่นให้เกิดความขัดแย้งหรือสร้างให้เกิดความแตกแยกในราชอาณาจักร และจากการที่พระราช
บัญญัติว่าด้วยการลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญฯ มีผลใช้บังคับได้มีการตรวจค้นที่ท�าการเว็บไซต์ประชาไท
ตามหมายค้นของศาลอาญา เนื่องจากเมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๙ มีผู้สื่อข่าวประชาไท พร้อมพวกรวม ๔ คนถูกควบคุมตัว บทที่
ที่สถานีต�ารวจภูธรบ้านโป่ง กรณีที่ตรวจยึดเอกสารที่อาจจะเกี่ยวข้องกับการกระท�าผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียง ๓
ประชามติร่างรัฐธรรมนูญฯ และผลการตรวจค้นไม่มีเอกสารที่เกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงกับที่มีการตรวจยึดที่บ้านโป่ง ๑๑๕
๔) การบังคับใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘
ในปี ๒๕๕๙ พบว่า นอกจากจะใช้บังคับต่อการชุมนุมในเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับการเมืองและการลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ในมิติ
ของการชุมนุมเรียกร้องต่อนโยบาย โครงการของรัฐ หรือความเดือดร้อน
ของประชาชนและชุมชน ประชาชนได้เรียนรู้ศึกษาและปฏิบัติตามกฎหมาย
ดังกล่าวมากขึ้น เห็นได้จากกรณีชาวบ้านต�าบลแม่อ้อ อ�าเภอพาน จังหวัด
๑๑๕ จาก ตร.ค้นประชาไท ไม่พบเอกสารประชามติโยงกรณีจับที่บ้านโป่ง, โดย ประชาไท, ๒๕๕๙, สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2016/07/66838
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ 95 ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๕๙