Page 49 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 49

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


               ความรับผิดชอบและกระบวนการเยียวยา (Accountability  and  Remedy  Project)  เพื่อพัฒนาข้อชี้แนะ

               ในทางปฏิบัติให้กับภาครัฐ ที่จะเป็นการเพิ่มความรับผิดชอบและความสามารถในการเข้าถึงกระบวนการ
               เยียวยาต่างๆ


                       3.   ปัจจุบันภาคธุรกิจเริ่มให้ความส าคัญกับการด าเนินงานโดยยึดหลักความรับผิดชอบต่อสังคมและ
               หลักการด าเนินงานอย่างยั่งยืน สิทธิมนุษยชนกลายเป็นปัจจัยส าคัญในการลงทุนและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

               ภาครัฐจึงมีหน้าที่ในการปกป้องสิทธิมนุษยชนในตลาดการค้า โดยการผสานหลักการสิทธิมนุษยชนในกฎหมาย

               และความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างเศรษฐกิจของทวีปเอเชีย

                       4.   การเข้ามาใช้และเข้าถือสิทธิในที่ดินของภาคธุรกิจต่างๆ มีมากขึ้น ซึ่งมีหลายกรณีที่ส่งผลกระทบ

               ต่อสิทธิของชุมชนท้องถิ่นและผู้มีส่วนได้เสียจ านวนมาก

                       นอกจากนี้ประเด็นสถานการณ์โดยทั่วไปยังได้พูดถึงแนวทางการสร้างแผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วย

               ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP) ผ่านการอธิบายความหมาย สาระส าคัญและกระบวนการจัดท าแผน NAP (ผ่าน

               การด าเนินงาน 5 ระยะ คือ การริเริ่มจัดท า การประเมินและปรึกษาหารือ การร่างแผนเบื้องต้น การบังคับใช้
               และการปรับปรุงแผนฯ)


                       ในส่วนที่สองที่แสดงถึงบทบาทของ กสม. มีการน าเสนอผ่าน 2 ประเด็นหลัก คือ

                       1.   การน าเสนอบทบาทของ กสม. ในการปฏิบัติตาม UNGP  และการริเริ่มกระบวนการยกร่างแผน

               NAP       ของประเทศ คณะผู้แทน กสม. ได้รับเชิญจากคณะท างานว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของ
               คณะกรรมการประสานงานระหว่างประเทศว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ICC)  ในการแลกเปลี่ยน

               ความรู้ในกระบวนการจัดท าแผนปฏิบัติการแห่งชาติ (NAP)  ร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศ โดยบทบาทของ

               กสม. ที่ผ่านมา สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้

                          -   กสม. ไทย แสดงบทบาทที่จะเป็นผู้ประสานงาน โดยดึงผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนเข้ามามี

                              ส่วนร่วม

                          -   กสม. ไทย รับบทบาทเป็นผู้อ านวยความสะดวก ขับเคลื่อนกระบวนการและเจรจาต่อรอง
                              เพื่อลดทอนอุปสรรคปัญหาต่างๆ

                          -   กสม. ไทย รับบทบาทในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้เพื่อเปิดเผย

                              ต่อสาธารณะและผู้มีส่วนได้เสีย

                       2.   การเชื่อมโยงเครือข่ายและความร่วมมือกับระหว่างประเทศ กสม. เริ่มสร้างความร่วมมือกับ

               หน่วยงานต่างๆ ทั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเดนมาร์ก German Institute for Human Rights (DIFR)
               ธนาคารพัฒนาเอเชียและคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รวมทั้งโครงการพัฒนา

               แห่งสหประชาชาติ (UNDP)  เพื่อที่จะเป็นประโยชน์ในการด าเนินการสร้างแผนปฏิบัติการแห่งชาติที่ว่าด้วย

               ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนให้สอดคล้องกับบริบทของประเทศไทย



                                                           2-25
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54