Page 47 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 47

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


               ท่องเที่ยวเข้ามามีบทบาทส าคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมากขึ้น การด าเนินธุรกิจของโรงแรมและ

               ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเลยมีโอกาสที่จะสร้างผลกระทบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนได้  4.  ในประเด็นเกษตร
               พันธสัญญา พบว่ามีผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนและไม่ประสบผลส าเร็จอยู่เป็นจ านวนหนึ่ง ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้

               จากหลายปัจจัย และผู้ที่ได้รับความเสี่ยงในการรับประกันดังกล่าว คือ ภาคธุรกิจ ที่หลายฝ่ายมองว่าอาจจะ

               เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนในแนวทางปฏิบัติ จากการด าเนินงานที่ต้องการให้สินค้ามีมาตรฐานคุ้มค่ากับการ
               ประกัน ทาง กสม. จึงควรที่จะเข้ามามีบทบาทกับการก ากับดูแลทั้ง 2 ฝ่าย และ 5. สภาพแวดล้อมจากมุมมอง

               ตัวแทนภาคธุรกิจ พบว่า จริงๆแล้วเรื่องสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องหนึ่งที่ภาคธุรกิจด าเนินงานอยู่แล้ว (ผ่านทาง

               กิจกรรม  CSR) แต่ยังไม่ได้มีการประกาศและเผยแพร่ไปสู่สาธารณะ ซึ่งหากภาคธุรกิจต้องการให้พนักงาน
               ภายในองค์กรได้ตระหนักถึงประเด็นดังกล่าว ก็ต้องมีการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน


                       ในส่วนที่สอง การสัมมนาได้แสดงถึงบทบาทที่ผ่านมาของ กสม. ที่ได้ด าเนินการส่งเสริมให้เกิดการ
               เคารพสิทธิมนุษยชน พบว่า กสม. ตระหนักถึงความส าคัญของการน าหลัก UNGP  มาปรับใช้กับการพัฒนา

               เศรษฐกิจของประเทศผ่านโครงการน าร่องจากภาคท่องเที่ยวและการโรงแรม และในปัจจุบัน กสม. ยังได้จัด

               แปลหนังสือคู่มือหลักการชี้แนะเรื่องธุรกิจส าหรับสิทธิมนุษยชนตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ เพื่อ
               เผยแพร่ให้กับประชาชน ภาคธุรกิจและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้รับทราบกันอีกด้วย


                       ในส่วนสุดท้าย การสัมมนาครั้งนี้ กสม. ได้เสนอแนะบทบาทของตนเองที่จะเข้าไปมีส่วนช่วยเหลือ
               ชี้แนะ และวางแผนแนวทางการด าเนินธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนผ่านแผนงานที่ส าคัญ 2 แผนงาน คือ

               1. แผนงานการส่งเสริมความรู้ให้กับผู้ที่มีแนวโน้มจะถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคธุรกิจ 2. แผนงานการ

               พัฒนาศักยภาพการจัดการปัญหา ผ่านการน าหลักกติการะหว่างประเทศมาปรับใช้ นอกจากนี้ กสม. ยังได้
               เสนอแนวทางการด าเนินงานเริ่มต้นให้กับภาคธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมเพื่อให้เกิดการน าไปใช้ ผ่านการ

               ประยุกต์หลัก UNGP เป็น 3 ขั้นตอน คือ 1. รับไปท า (น าไปคุ้มครองสิทธิโดยออกระเบียบ นโยบาย) 2. น าไป

               คิดต่อ (หาทางป้องกัน ปลูกฝังให้เกิดการเคารพสิทธิ) 3. หาทางเยียวยา (ผ่านกระบวนการยุติธรรมที่มี
               ประสิทธิภาพ รวดเร็วและเป็นธรรม เช่น การเจรจาไกล่เกลี่ย)


                       โครงการสัมมนา เรื่อง “ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการ
               ชี้แนะของสหประชาชาติ” ได้ให้บทเรียนที่ส าคัญผ่านประเด็นความท้าทายจากประเด็นปัจจัยเอื้อและอุปสรรค

               ในการด าเนินงานตามสถานการณ์ ดังนี้


                       1.   ปัจจัยเอื้อที่มีผลต่อการผลักดันนโยบาย คือ ปัจจุบันมีกลไกการตรวจสอบการละเมิดสิทธิที่
               นอกเหนือจากภาครัฐจ านวนมาก และภาคธุรกิจภายใต้ห่วงโซ่อุปทานให้ความส าคัญกับประเด็นด้าน

               สิทธิมนุษยชนมากขึ้น











                                                           2-23
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52