Page 42 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 42

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


               ตารางที่ 2.1   บทบาทหน้าที่ของสถาบันสิทธิมนุษยชนประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ

                 ประเทศ                              บทบาทที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ
                            การประเมินผลกระทบด้านสิทธิ         การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท       การเฝ้าระวังและ

                                     มนุษยชน                                                   ติดตาม

               เดนมาร์ก    จัดท าแผนและเผยแพร่ตัวชี้วัดสิทธิ  ให้ค าปรึกษาทางกฎหมายและข้อบังคับ
                           ด้านสิทธิมนุษยชนส าหรับภาคธุรกิจ  ต่างๆ ที่ว่าด้วยหลักการความเสมอภาคแก่
                           (Human Rights Indicators for   ศูนย์ไกล่เกลี่ย และจัดการกับข้อพิพาทว่า

                           Business)                    ด้วยความรับผิดชอบของธุรกิจ
               มาเลเซีย                                 อยู่ในระหว่างการแก้ไขกฎหมายเพื่อให้มี

                                                        อ านาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
               เกาหลีใต้   แนวปฏิบัติส าหรับการจัดการด้าน  มีคณะกรรมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
                           สิทธิมนุษยชนและรายการตรวจสอบ

                           (Human Rights Management
                           and Check List)
               อินโดนีเซีย                              มีอ านาจเจรจาไกล่เกลี่ย

               อินเดีย                                  มีอ านาจ แต่เน้นประเด็นสิทธิพลเมืองและ  ด าเนินการตาม
                                                        สิทธิทางการเมืองขั้นพื้นฐานมากกว่าสิทธิ  ค าสั่งศาล
                                                        ทางสังคมและเศรษฐกิจ

               เนเธอร์แลนด์                             มีการรับเรื่องร้องเรียนและตัดสิน เฉพาะ
                                                        ประเด็นการเลือกปฏิบัติ (ในที่ท างาน

                                                        สถานศึกษา หรือในฐานะผู้บริโภค)
               สวีเดน                                   มีการด าเนินการ แต่เฉพาะประเด็นการเลือก
                                                        ปฏิบัติด้านชาติพันธุ์หรือศาสนาเท่านั้น

               นิวซีแลนด์                               มีการด าเนินการ แต่เฉพาะประเด็นการเลือก
                                                        ปฏิบัติเท่านั้น

               ที่มา:   สถาบันวิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2559) “บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                       ในการคุ้มครอง การละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน.” ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.



                       ในส่วนที่สาม แสดงถึงบทบาทการด าเนินงานที่ผ่านมาของ กสม. พบว่า กสม. ถือเป็นองค์กรอิสระใน

               รูปแบบคณะกรรมการที่ท าหน้าที่ตรวจสอบ รายงานและให้ค าปรึกษาด้านสิทธิมนุษยชนต่อรัฐสภา ตาม

               รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก าหนดให้ กสม. มีอ านาจหน้าที่เพิ่มเติมจากรัฐธรรมนูญ
               แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยเฉพาะกับองค์กรผู้ใช้อ านาจตุลาการด้วยกัน ดังนี้









                                                           2-18
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47