Page 39 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 39
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
4. กรมโรงงานอุตสาหกรรม: ออกใบรับรองและพัฒนามาตรฐาน Corporate Social
Responsibility : Department of Industrial Works (CSR-DIW)
5. สมาคมธนาคารไทย: สมาคมของธนาคาร
6. ธนาคารแห่งประเทศไทย: ก ากับดูแลธนาคารพาณิชย์
7. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย: สมาคมของบริษัทอุตสาหกรรม มีสายงานแรงงานและ
สิ่งแวดล้อม
8. สภาหอการค้าไทย: สมาคมของผู้ประกอบการ
นอกจากนี้ กสม. อาจจะเข้ามามีบทบาทในการติดตาม ตรวจสอบการปฏิบัติตามคู่มือของภาคธุรกิจ
เป็นระยะๆ
แผนภาพที่ 2.3 แผนผังการด าเนินงานของ กสม. จากข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
อบรม / ผลิตคู่มือ ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ติดตามตรวจสอบ
ขั้นตอนของบริษัทในการท า Human Rights Due Diligence
ประกาศนโยบาย ประเมินผลกระทบ บูรณาการเข้ากับกลไกควบคุม ติดตามและรายงานผล
หลักการ มาตรฐาน (เช่น GRI, GLP)
แนวปฏิบัติ ชุดตัวชี้วัดของสถาบันสิทธิฯ เดนมาร์ก
ที่มา: สถาบันวิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2559) “มาตรฐานสากลในการด าเนินธุรกิจเพื่อการ
เคารพสิทธิมนุษยชน.” ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
โครงการวิจัยเรื่อง “มาตรฐานสากลในการด าเนินธุรกิจเพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน” ได้ให้บทเรียนที่
ท าให้คณะผู้วิจัยได้ทราบถึงมาตรฐานสากลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคารพสิทธิมนุษยชนของภาคธุรกิจ ทราบ
ถึงสภาพแวดล้อมทั่วไปที่สังคมเริ่มให้ความส าคัญกับประเด็นสิทธิมนุษยชนในการประกอบธุรกิจมากขึ้น และ
จากกรณีศึกษาในโครงการวิจัยได้บ่งชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อนของการด าเนินงานตามมาตรฐานสากลต่างๆ ของ
ภาคเอกชนที่เป็นไปในลักษณะสมัครใจ ที่ไม่ได้มีกลไกในการตรวจสอบการรายงานและปฏิบัติตามมาตรฐานว่า
ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ ไม่มีผู้มีส่วนได้เสียมาให้ความส าคัญกับการติดตามประเด็นดังกล่าวมากนัก จึงท าให้
ภาคธุรกิจที่รับมาตรฐานมาปฏิบัติ ขาดแคลนข้อมูลที่เพียงพอต่อการรับรู้ว่าบริษัทได้คุ้มครองสิทธิมนุษยชน
อย่างเพียงพอแล้วหรือไม่ นอกจากนี้คณะผู้วิจัยยังรวบรวมประเด็นข้อท้าทายและอุปสรรคเพิ่มเติมที่อาจจะมี
ผลกระทบต่อการด าเนินงานของ กสม. จากการทบทวนวรรณกรรมฉบับนี้ได้ว่า
2-15