Page 144 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 144

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                       3.6.1   ปัจจัยในการด าเนินงานของ กสม. และ สภาพแวดล้อม สถานการณ์ส าคัญด้านธุรกิจและ

               สิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น

                       ความท้าทาย

                       1.  กสม. อาศัยสื่อเพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้กับสังคมในประเด็นสิทธิมนุษยชนและการประกอบ

                          ธุรกิจ


                       2.  กสม. มีฐานข้อมูลที่จะน ามาใช้สนับสนุนการท างานได้ดีมากขึ้น อาทิ การจัดท า national
                          baseline study



                       ปัจจัยเอื้อ

                       1.  ภาครัฐมีความสนใจเป็นพิเศษในบางประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนกับการประกอบธุรกิจ

                          เช่น กรณีการค้ามนุษย์ ซึ่ง กสม. สามารถเข้าไปร่วมและผลักดันประเด็นดังกล่าวได้ง่ายขึ้น
                       2.  ภาคธุรกิจให้ความส าคัญกับเรื่องภาพลักษณ์ของบริษัทตนเองมากขึ้น มุ่งที่จะด าเนินการต่างๆ ที่

                          เป็นสร้างภาพลักษณ์ให้กับบริษัท

                       3.  กลไก UPR  (การทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศ) ท าให้รัฐจ าเป็นที่จะต้องให้
                          ความส าคัญกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งรวมทั้งประเด็นสิทธิมนุษยชนและการประกอบ

                          ธุรกิจ ดังนี้ กสม. สามารถที่จะผลักดันประเด็นเหล่านี้ได้ด้วยเช่นกัน

                       4.  แรงกดดันจากลูกค้าที่ให้ความส าคัญกับสิทธิมนุษยชน และหน่วยงานภาครัฐของต่างประเทศที่
                          เป็นผู้ก าหนดนโยบายกีดกันทางการค้ากับภาคธุรกิจที่ไม่เคารพสิทธิมนุษยชน จะท าให้ภาคธุรกิจ

                          หันมาให้ความส าคัญกับประเด็นดังกล่าว

                       5.  รัฐเปิดกว้างและมีความมุ่งมั่นที่จะด าเนินการแผน NAP โดยมีการจัดตั้งคณะท างาน ปรึกษาหารือ
                          และรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อให้แผนปฏิบัติมีความครอบคลุม ชัดเจน

                       6.  องค์กรต่างประเทศสนับสนุนความร่วมมือทั้งทางด้านเทคนิคและด้านอื่นๆ เพื่อส่งเสริมการเคารพ

                          สิทธิมนุษยชน
                       7.  กสม. อาจจะปรับใช้แนวทางปฏิบัติของ กสม. ต่างประเทศ เพื่อจัดตั้งศูนย์ไกล่เกลี่ยและจัดการ

                          กับข้อพิพาทว่าด้วยความรับผิดชอบของธุรกิจ บนฐานของแนวทางปฏิบัติส าหรับภาคธุรกิจ

                          OECD
                       8.  ภาคธุรกิจมีความตื่นตัวในการเคารพสิทธิมนุษยชน

                       9.  ภาคธุรกิจมีความคุ้มเคยกับเรื่อง CSR  อยู่แล้ว  กสม. อาจจะริเริ่มสร้างความเข้าใจในประเด็น

                          สิทธิมนุษยชนผ่านแนวคิด CSR ได้
                       10. ความเข้มแข็งของชุมชนและการสนับสนุนของภาคประชาสังคมมีบทบาทส าคัญในการตรวจสอบ

                          และเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาคธุรกิจและให้ความรู้ต่อสาธารณะ




                                                           3-74
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149