Page 109 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 109

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
               แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562


                              จ้างงานโดยภาครัฐเอง  หรือพิจารณาท าธุรกรรมซื้อ/ขายสินค้าและบริการกับภาคเอกชนที่มี

                              การจ้างงานทั้ง 2 ประเภทในระดับที่สูง

                          -   ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการด าเนินงานของภาครัฐที่เป็นอยู่   ประกอบไปด้วย

                              การปรับปรุงกฎระเบียบ และนโยบายให้การสนับสนุนแก้ไขปัญหา เช่น การยกเลิกกฎหมาย
                              ที่เป็นอุปสรรคต่อการจ้างงานแรงงานสูงอายุ  หรือแรงงานทุพพลภาพ  การวางนโยบาย

                              สนับสนุนการจ้างงานทั้งสองประเภท  รวมทั้งปรับปรุงกฎหมายที่คุ้มครองสิทธิของแรงงานทั้ง

                              2 กลุ่มให้ชัดเจน

                          -   ข้อเสนอแนะกับภาคธุรกิจ ประกอบไปด้วย การให้ความส าคัญตั้งแต่ระดับผู้บริหาร/ผู้จัดการ

                              การให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาแก่พนักงานบริษัททุกคน  การจ้างงานและการเลือกขั้นต าแหน่ง
                              ที่ปราศจากการเลือกปฏิบัติ  และการสร้างสังคมการท างานที่ปราศจากอคติต่อแรงงานทั้ง  2

                              กลุ่ม


                       หนังสือ ความเต็มใจที่จะท างานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งออสเตรเลีย ได้ให้บทเรียนที่
               ส าคัญต่อการก าหนดแผนกลยุทธ์การด าเนินงานของ กสม. ดังนี้


                       1.   กิจกรรมที่ส าคัญในการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสิทธิมนุษยชน ก็คือ การจัดท ารายงานสภาพ
               ปัญหาสิทธิมนุษยชนรายประเด็น ซึ่งจะท าให้ทราบถึง สภาพปัญหาที่มีอยู่ในปัจจุบัน ขนาดของปัญหา รวมทั้ง

               ทัศนคติ มุมมองของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

                       2.   กิจกรรมที่ส าคัญอีกกิจกรรมหนึ่ง ก็คือ การประเมินความเหมาะสม และความครอบคลุมของ

               กฎหมาย เพราะกฎหมายจะเป็นตัวก าหนดมาตรฐานพฤติกรรมขั้นต่ าของภาคธุรกิจในส่วนที่เกี่ยวข้อง


                       3.   นอกจากนี้ คณะผู้วิจัยยังได้ประมวลบทบาทที่ กสม. สามารถเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขปัญหา
               การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเด็นธุรกิจและสิทธิมนุษยชนได้ ดังนี้


                          -   การเข้าร่วมกับภาครัฐในการจัดท าแผนในระดับชาติเพื่อแก้ไขปัญหาในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
                          -   การเข้าไปเป็นภาคีสนับสนุนให้กับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้มีการจัดฝึกอบรมที่ตรงกับกลุ่ม

                              แรงงานที่มีปัญหา

                          -   การด าเนินการปลูกฝัง ให้ความรู้กับภาครัฐ องค์กรที่ดูแลด้านสิทธิมนุษยชนอื่นๆ ภาคธุรกิจ
                              และภาคประชาชน ในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
















                                                           3-39
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114