Page 70 - รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2558 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 70

๓.๗.๓  ความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน   ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับสถานการณ์ความขัดแย้ง และ
             แห่งชาติในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้       การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การน�ามาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่าง
                                                                ประเทศมาอนุวัติใช้ในประเทศ
                       กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน
             แห่งชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia National       ๒) การประชุมปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่สถาบัน
             Human Rights Institutions Forum - SEANF) กสม. ได้ให้ความ   สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Technical
             ส�าคัญกับการสร้างความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ   Working Group Meeting of the South East Asia National
             ในกรอบ SEANF เนื่องจากตระหนักว่า ความร่วมมือดังกล่าวจะเป็น   Human Rights Institutions Forum) ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ ระหว่าง
             ช่องทางในการเรียนรู้ประสบการณ์การท�างานระหว่างกัน รวมทั้ง   วันที่ ๑๗ - ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ประเทศมาเลเซีย การประชุมได้มีการ
             การสร้างเครือข่ายความร่วมมือให้มีความเข้มแข็ง เพื่อแก้ไขปัญหาที่อยู่ใน   รายงานความก้าวหน้าเกี่ยวกับกิจกรรมความร่วมมือที่แต่ละประเทศ
             ความสนใจหรือมีผลกระทบร่วมกันอันจะท�าให้การส่งเสริมและคุ้มครอง  รับผิดชอบ มีการหารือเกี่ยวกับพัฒนาการล่าสุดหลังจากการประชุม
             สิทธิมนุษยชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประสบผลส�าเร็จ  TWG SEANF ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ การจัดตั้งส�านักงานเลขานุการถาวร
             มากยิ่งขึ้น                                        พัฒนาการด้านสิทธิมนุษยชนในอาเซียน การหารือเรื่องบทบาทของ
                                                                สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของ
                       ในปี ๒๕๕๘ กสม. ได้ด�าเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง  ผู้อพยพย้ายถิ่นฐาน เหยื่อของการค้ามนุษย์ในภูมิภาคเอเชียตะวัน
             กับความร่วมมือในกรอบ SEANF ที่ส�าคัญ ดังนี้        ออกเฉียงใต้ การบังคับแต่งงานและการแต่งงานของบุคคลที่มีอายุน้อย
                                                                SEANF กับการต่อต้านโทษประหารชีวิตและบทบาทของสถาบัน
                       ๑) การประชุมปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่สถาบัน   สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการคุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน ส�าหรับ
             สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Technical   การประชุมเชิงปฏิบัติการด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนนั้นที่ประชุม
             Working Group Meeting of the South East Asia National   ได้มีการหารือเกี่ยวกับหลักการและการด�าเนินงานประเด็นธุรกิจกับ
             Human Rights Institutions Forum) ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ ระหว่างวันที่   สิทธิมนุษยชนที่จะส่งผลต่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
             ๒๘ - ๒๙ มกราคม ๒๕๕๘ ณ ประเทศมาเลเซีย               ในประเทศ


                       ในการประชุมได้มีการรายงานความก้าวหน้าเกี่ยวกับ      ๓) การประชุมประจ�าปีของสถาบันสิทธิมนุษยชน
             กิจกรรมความร่วมมือที่แต่ละประเทศรับผิดชอบ การหารือเกี่ยวกับ  แห่งชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Annual Meeting of the
             การจัดตั้งส�านักงานเลขานุการถาวร บทบาทของ SEANF กับอาเซียน    South East Asia National Human Rights Institutions Forum)
             การด�าเนินงานร่วมกับ AICHR การด�าเนินงานร่วมกับ ACWC บทบาท   ครั้งที่ ๑๒ ระหว่างวันที่ ๒๙ - ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘ ณ ประเทศมาเลเซีย
             ของ SEANF ในประเด็นธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน การหารือเกี่ยวกับ
             สิทธิของผู้สูงอายุ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับบทบาท                                                บทที่ ๒ : ผลการด�าเนินงานประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘


                       การประชุมแบ่งออกเป็น ๒ ช่วง ในช่วงแรกเป็น การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องบทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการส่ง
             เสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นการประชุมที่มีการเชิญบุคคลภายนอกเข้าร่วม โดยที่ประชุมได้มีการหารือเกี่ยวกับประเด็นบทบาทของ
             สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และประเด็นอาเซียนและสิทธิมนุษยชน ในช่วงที่สองของการประชุม คือ
             การประชุมประจ�าปี SEANF ที่มีเฉพาะสมาชิก SEANF เข้าร่วม โดยมีการหารือเกี่ยวกับการจัดตั้งส�านักงานเลขานุการถาวร การเปลี่ยนแปลง
             ของสภาพอากาศและสิทธิมนุษยชน แผนปฏิบัติการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (National Human Rights Action Plans) การหารือเกี่ยวกับเป้าหมาย
             การพัฒนาที่ยั่งยืนหลังปี ค.ศ. ๒๐๑๕ การหารือเกี่ยวกับการยกเลิกโทษประหารชีวิต สิทธิของผู้อพยพย้ายถิ่นฐานและเหยื่อของการค้ามนุษย์ในภูมิภาค
             เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ ที่ประชุมยังได้พิจารณาประเด็นข้อร้องเรียนจากประเทศอาเซอร์ไบจาน และมีการจัดท�าเอกสาร (communiqué)
             แจ้งไปยังผู้น�ารัฐบาลที่จะเข้าร่วมการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๒๗ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ ประเทศมาเลเซียให้รับทราบถึงการด�าเนินงาน
             ของ SEANF










                              รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปี ๒๕๕๘  69  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75