Page 54 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 54
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
การใช้กฎหมายต่าง ๆ รวมถึงค�าสั่ง คสช. ทั้ง ทั้งนี้ กสม. ประเมินสถานการณ์ด้านกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มคนไร้รัฐและไร้สัญชาติ เเละ
สิ้น ๕๐ ค�าร้อง โดยครอบคลุมพื้นที่ ๓๐ จังหวัด ชนเผ่าพื้นเมืองโดยมีข้อเสนอหลัก ๆ ได้แก่ (๑) การพัฒนา และเพิ่มประสิทธิภาพ
และคิดเป็นจ�านวนที่ดินซึ่งมีการเรียกคืน หรืออยู่ ของกลไกในการพิสูจน์สถานะบุคคลทางกฎหมาย โดยสร้างความร่วมมือกับ
ระหว่างการพิพาทเป็นพื้นที่ประมาณ ๕๐,๐๐๐ ไร่ ภาคประชาสังคมในการส�ารวจ และแก้ไขปัญหาความล่าช้าในการลงรายการ
(๒) การขาดความมั่นคงในสิทธิและสถานะบุคคล สัญชาติ หรือการพิสูจน์สถานะบุคคลทางกฎหมาย โดยการด�าเนินการควบคู่ไปกับ
ทางกฎหมาย เนื่องจากความแตกต่างหลากหลาย การส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจส�าหรับผู้ปฏิบัติงานด้านการทะเบียนราษฎร
ของกลุ่มชาติพันธุ์จ�านวนมาก การตั้งถิ่นฐาน รวมถึงการก�าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคลของบุคคลในบางกลุ่ม
กระจายตามภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่งในหลายพื้นที่ ที่ได้รับการส�ารวจและจัดท�าทะเบียนตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและ
มีความทับซ้อนระหว่างพรมแดนของประเทศ สิทธิของบุคคล พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นการเพิ่มเติม รวมถึงการจัดหามาตรการในการ
นอกจากนั้น ในบางกลุ่มยังมีวิถีชีวิตเคลื่อนย้าย ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของบุคคลที่ได้รับผลจากบทบัญญัติในพระราชบัญญัติ
ท�าให้การส�ารวจและก�าหนดสถานะบุคคลทาง สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๒ มาตรา ๗ ทวิ (๒) การพัฒนา และ
เพิ่มประสิทธิภาพของกลไกในการพิสูจน์สิทธิในที่ดิน ที่ท�ากิน และที่อยู่อาศัย ซึ่งมี
กฎหมายท�าได้ล่าช้า ขาดความสมบูรณ์ และมี ข้อพิพาท โดยสร้างความร่วมมือกับภาคประชาสังคมในการส�ารวจ และแก้ไขปัญหา
ความคลุมเครือในการลงบันทึกข้อมูล ทั้งนี้ พบว่า ทั้งนี้ ควรน�าเนื้อหา และแนวทางการปฏิบัติตามข้อเสนอ และหลักการตามมติคณะ
ยังมีการด�าเนินการล่าช้า และการเรียกรับผล รัฐมนตรี “แนวนโยบายฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล” เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ และ
ประโยชน์จากการยื่นขอสถานะในบางพื้นที่ ในขณะ “แนวนโยบายฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง” เมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ มาปรับใช้ บทที่ ๒ ภาพรวมสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘
ที่ยังมีข้อจ�ากัดในทางปฏิบัติในกรณีของบุคคล (๓) การก�าหนดกรอบ และเกณฑ์ที่ชัดเจนในการพิจารณาเรื่องผลกระทบต่อ
ที่มีสถานะบุคคลทางกฎหมายแล้วแต่ยังไม่สามารถ ความมั่นคงของรัฐ และพิจารณาทบทวนให้ผู้ที่เป็นคนไทยโดยการแปลงสัญชาติ
เข้าถึงบริการพื้นฐานของรัฐ ทั้งการศึกษา และการ ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศไทยมานานแล้ว สามารถมีส่วนร่วมในการปกครอง
บริการด้านสุขภาพ รวมถึงเสรีภาพในการเดินทาง ส่วนท้องถิ่นได้ในบางกรณี (๔) การสนับสนุนกลุ่มเด็กที่มีปัญหาสถานะในการ
และ (๓) การขาดความมั่นคงในการด�ารงชีวิต เข้าเรียนในสถานศึกษา โดยการจัดสรรงบประมาณและการพัฒนาต่างๆ
เนื่องจากสภาพความยากจน การมีข้อจ�ากัด ให้เพียงพอ และเหมาะสม รวมถึงการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนารูปแบบการเรียน
เรื่องที่ดินท�ากิน และการขาดแคลนทรัพยากร การสอนแบบพหุวัฒนธรรม/ภาษา (Mother Tongue-Based/Multi-Lingual
สนับสนุน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคม Education) และการศึกษาในภาษาถิ่นเพื่อเป็นการประกันการเข้าถึงระบบ
สู่ความทันสมัย การศึกษาที่มีคุณภาพและมีความเกี่ยวข้อง และ (๕) การพิจารณา และให้ความ
ส�าคัญกับการก�าหนดอัตลักษณ์ตัวตนของกลุ่มชาติพันธุ์ ชนเผ่า และชนเผ่าพื้นเมือง
โดยพิจารณารับรอง (ร่าง) พระราชบัญญัติสภาชาติพันธุ์ และชนเผ่าพื้นเมือง
แห่งประเทศไทย พ.ศ. .... ซึ่งพัฒนาและน�าเสนอโดยเครือข่ายชนเผ่าพื้นเมือง
แห่งประเทศไทย และส�านักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) ซึ่งได้
น�าเสนอต่อรัฐบาลไปแล้ว แต่ยังมิได้บรรจุวาระการพิจารณาแต่อย่างใด
24